Monday, November 16, 2009

ครั้งที่ 2/1 ลักษณะสารสนเทศ

ให้ทุกคนแสดงความคิดเห็นว่า
2.1 สารสนเทศที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
2.2 นักศึกษาคิดว่าจะศึกษาแหล่งข้อมูลสังคมศึกษา ได้จากที่ใดบ้าง ให้ร่วมกันแสดงความคิดเห็น

91 comments:

{SeXy_BaBiE}_648101 said...

2.1 สารสนเทศที่ดีนั้น ควรมีความถูกต้องและความน่าเชื่อถือ
2.2 internet,หอสมุด,วารสารทางสังคมแขนงต่างๆ

PRAE-0648095 said...

ลักษณะสารสนเทศที่ดี
เนื้อหา (Content)
• ความสมบรูณ์ครอบคลุม (completen ess)
• ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance)
• ความถูกต้อง (accuracy)
• ความเชื่อถือได้ (reliability)
• การตรวจสอบได้ (verifiability)
รูปแบบ (Format)
• ชัดเจน (clarity)
• ระดับรายละเอียด (level of detail)
• รูปแบบการนำเสนอ (presentation)
• สื่อการนำเสนอ (media)
• ความยืดหยุ่น (flexibility)
• ประหยัด (economy)
เวลา (Time)
• ความรวดเร็วและทันใช้ (timely)
• การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date)
• มีระยะเวลา (time period)
กระบวนการ (Process)
• ความสามารถในการเข้าถึง (accessibility)
• การมีส่วนร่วม (participation)
• การเชื่อมโยง (connectivity)

เจ๊จูน said...

1. สารสนเทศที่ดีต้องมีความความถูกต้อง (Accurate) และไม่มีความผิดพลาด
2. ผู้ที่มีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาที่เหมาะสม ตาม
ความต้องการของผู้ใช้
3. สารสนเทศต้องมีความชัดเจน (Clarity) ไม่คลุมเครือ
4. สารสนเทศที่ดีต้องมีความสมบูรณ์ (Complete) บรรจุไปด้วยข้อเท็จจริงที่มีสำคัญครบถ้วน
5. สารสนเทศต้องมีความกะทัดรัด (Conciseness) หรือรัดกุม เหมาะสมกับผู้ใช้
6. กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจมักจะต้องสร้างดุลยภาพ
ระหว่างคุณค่าของสารสนเทศกับราคาที่ใช้ในการผลิต
7. ต้องมีความยึดหยุ่น (Flexible) สามารถในไปใช้ในหลาย ๆ เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์
8. สารสนเทศที่ดีต้องมีรูปแบบการนำเสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกับผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
9. สารสนเทศที่ดีต้องตรงกับความต้องการ (Relevant/Precision) ของผู้ที่ทำการตัดสินใจ
10. สารสนเทศที่ดีต้องมีความน่าเชื่อถือ (Reliable) เช่น เป็นสารสนเทศที่ได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมที่น่าเชื่อ ถือ หรือแหล่ง (Source) ที่น่าเชื่อถือ เป็นต้น
11. สารสนเทศที่ดีควรมีความปลอดภัย (Secure) ในการเข้าถึงของผู้ไม่มีสิทธิใช้สารสนเทศ
12. สารสนเทศที่ดีควรง่าย (Simple) ไม่สลับซับซ้อน มีรายละเอียดที่เหมาะสม (ไม่มากเกินความจำเป็น)
13. สารสนเทศที่ดีต้องมีความแตกต่าง หรือประหลาด (Surprise) จากข้อมูลชนิดอื่น ๆ
14. สารสนเทศที่ดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือสามารถส่ง
ถึงผู้รับได้ในเวลาที่ผู้ใช้ต้องการ
15. สารสนเทศที่ดีต้องเป็นปัจจุบัน (Up to Date) หรือมีความทันสมัย ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นนั้นจะไม่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
16. สารสนเทศที่ดีต้องสามารถพิสูจน์ได้ (Verifiable) หรือตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ว่ามีความถูกต้อง
ที่มา
เวปหลัก http://guru.google.co.th
เวปรอง http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=418c374198be5812
เข้าถึงเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2552 13.10

PRAE-0648095 said...

เพิ่มเติมอ้างอิง
ที่มา : http://elearning.northcm.ac.th/mis/content.asp?ContentID=2&LessonID=1
เวปหลัก : http://www.northcm.ac.th
เข้าถึงเมื่อ : 16 พ.ย. 2552 เวลา 13.15น.

ธนัท 082 said...

สารสนเทศที่จัดว่าเป็นสารสนเทศที่ดี จะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อย 5 ประการด้วยกัน คือ

1. มีความถูกต้อง

2. ทันต่อความต้องการใช้งาน

3. มีความสมบูรณ์

4. กระทัดรัด

5. ตรงกับความต้องการ

ที่มา...
เวหลัก http://www.itdestination.com เข้าถึงเมื่อ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 เวลา 13.10 น.

เวบรอง http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00002
เข้าถึงเมื่อ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 เวลา 13.10 น.

อึ้ง0648097 said...

1. สารสนเทศที่ดีต้องมีความความถูกต้อง (Accurate) และไม่มีความผิดพลาด
2. ผู้ที่มีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาที่เหมาะสม ตาม
ความต้องการของผู้ใช้
3. สารสนเทศต้องมีความชัดเจน (Clarity) ไม่คลุมเครือ
4. สารสนเทศที่ดีต้องมีความสมบูรณ์ (Complete) บรรจุไปด้วยข้อเท็จจริงที่มีสำคัญครบถ้วน
5. สารสนเทศต้องมีความกะทัดรัด (Conciseness) หรือรัดกุม เหมาะสมกับผู้ใช้
6. กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจมักจะต้องสร้างดุลยภาพ
ระหว่างคุณค่าของสารสนเทศกับราคาที่ใช้ในการผลิต
7. ต้องมีความยึดหยุ่น (Flexible) สามารถในไปใช้ในหลาย ๆ เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์
8. สารสนเทศที่ดีต้องมีรูปแบบการนำเสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกับผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
9. สารสนเทศที่ดีต้องตรงกับความต้องการ (Relevant/Precision) ของผู้ที่ทำการตัดสินใจ
10. สารสนเทศที่ดีต้องมีความน่าเชื่อถือ (Reliable) เช่น เป็นสารสนเทศที่ได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมที่น่าเชื่อ ถือ หรือแหล่ง (Source) ที่น่าเชื่อถือ เป็นต้น
11. สารสนเทศที่ดีควรมีความปลอดภัย (Secure) ในการเข้าถึงของผู้ไม่มีสิทธิใช้สารสนเทศ
12. สารสนเทศที่ดีควรง่าย (Simple) ไม่สลับซับซ้อน มีรายละเอียดที่เหมาะสม (ไม่มากเกินความจำเป็น)
13. สารสนเทศที่ดีต้องมีความแตกต่าง หรือประหลาด (Surprise) จากข้อมูลชนิดอื่น ๆ
14. สารสนเทศที่ดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือสามารถส่ง
ถึงผู้รับได้ในเวลาที่ผู้ใช้ต้องการ
15. สารสนเทศที่ดีต้องเป็นปัจจุบัน (Up to Date) หรือมีความทันสมัย ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นนั้นจะไม่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
16. สารสนเทศที่ดีต้องสามารถพิสูจน์ได้ (Verifiable) หรือตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ว่ามีความถูกต้อง

นวลจันทร์0648086 said...
This comment has been removed by the author.
Unknown said...

สารสนเทศที่จัดว่าเป็นสารสนเทศที่ดี จะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อย 5 ประการด้วยกัน คือ
1. มีความถูกต้อง
2. ทันต่อความต้องการใช้งาน
3. มีความสมบูรณ์
4. กระทัดรัด
5. ตรงกับความต้องการ
เวปหลัก http://www.itdestination.comเวปรอง http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00002
เข้าถึงเมื่อ วันที่ 16 พฤศจิกายน 2552

Rujirek099 said...

ครั้งที่ 1
ลักษณะของสารสนเทศที่ดีต้องประกอบไปด้วย
1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) หมายถึง ปราศจากความเอนเอียง สารสนเทศที่ดี ต้องบอกลักษณะความเป็นจริงที่เกิดขึ้น ไม่ชี้นำไปทางใดทางหนึ่ง
2. ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ (Relevancy)หมายถึง มีเนื้อหาตรงกับเรื่อง ที่ต้องการใช้ของผู้ใช้แต่ละคน
3. ทันต่อเวลา (Timeliness) หมายถึง สามารถนำสารสนเทศที่ต้องการไปใช้ได้ ทันต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

ที่มา: เวปหลัก http://blog.eduzones.com
เวปรอง http://noknik15clab/print.php?content_id=33086 เข้าถึงเมื่อวันที่ 16 พ.ย. 52 เวลา 13.10 น.

sajoob-090 said...

สารสนเทศที่จัดว่าเป็นสารสนเทศที่ดี จะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อย 5 ประการด้วยกัน คือ
1. มีความถูกต้อง
2. ทันต่อความต้องการใช้งาน
3. มีความสมบูรณ์
4. กระทัดรัด
5. ตรงกับความต้องการ

http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00002
http://www.itdestination.com
เข้าถึงเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2552 เวลา 13.13 น.

0o.Hoo-Lay.o0 said...

ลักษณะที่ดีของสารสนเทศ
1. สารสนเทศที่ดีต้องมีความความถูกต้อง (Accurate) และไม่มีความผิดพลาด
2. ผู้ที่มีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาที่เหมาะสม ตาม
ความต้องการของผู้ใช้
3. สารสนเทศต้องมีความชัดเจน (Clarity) ไม่คลุมเครือ
4. สารสนเทศที่ดีต้องมีความสมบูรณ์ (Complete) บรรจุไปด้วยข้อเท็จจริงที่มีสำคัญครบถ้วน
5. สารสนเทศต้องมีความกะทัดรัด (Conciseness) หรือรัดกุม เหมาะสมกับผู้ใช้
6. กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจมักจะต้องสร้างดุลยภาพ
ระหว่างคุณค่าของสารสนเทศกับราคาที่ใช้ในการผลิต
7. ต้องมีความยึดหยุ่น (Flexible) สามารถในไปใช้ในหลาย ๆ เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์
8. สารสนเทศที่ดีต้องมีรูปแบบการนำเสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกับผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
9. สารสนเทศที่ดีต้องตรงกับความต้องการ (Relevant/Precision) ของผู้ที่ทำการตัดสินใจ
10. สารสนเทศที่ดีต้องมีความน่าเชื่อถือ (Reliable) เช่น เป็นสารสนเทศที่ได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมที่น่าเชื่อ ถือ หรือแหล่ง (Source) ที่น่าเชื่อถือ เป็นต้น
11. สารสนเทศที่ดีควรมีความปลอดภัย (Secure) ในการเข้าถึงของผู้ไม่มีสิทธิใช้สารสนเทศ
12. สารสนเทศที่ดีควรง่าย (Simple) ไม่สลับซับซ้อน มีรายละเอียดที่เหมาะสม (ไม่มากเกินความจำเป็น)
13. สารสนเทศที่ดีต้องมีความแตกต่าง หรือประหลาด (Surprise) จากข้อมูลชนิดอื่น ๆ
14. สารสนเทศที่ดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือสามารถส่ง
ถึงผู้รับได้ในเวลาที่ผู้ใช้ต้องการ
15. สารสนเทศที่ดีต้องเป็นปัจจุบัน (Up to Date) หรือมีความทันสมัย ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นนั้นจะไม่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
16. สารสนเทศที่ดีต้องสามารถพิสูจน์ได้ (Verifiable) หรือตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ว่ามีความถูกต้อง
เว็บรองhttp://guru.google.co.th/guru/thread?tid=418c374198be5812
เว็บหลักhttp://guru.google.co.th/
เข้าถึงเมื่อวันที่ 16 พย. 2552

Auiizz 0648079 said...

ลักษณะสารสนเทศที่ดี
เนื้อหา (Content)
• ความสมบรูณ์ครอบคลุม (completen ess)
• ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance)
• ความถูกต้อง (accuracy)
• ความเชื่อถือได้ (reliability)
• การตรวจสอบได้ (verifiability)
รูปแบบ (Format)
• ชัดเจน (clarity)
• ระดับรายละเอียด (level of detail)
• รูปแบบการนำเสนอ (presentation)
• สื่อการนำเสนอ (media)
• ความยืดหยุ่น (flexibility)
• ประหยัด (economy)
เวลา (Time)
• ความรวดเร็วและทันใช้ (timely)
• การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date)
• มีระยะเวลา (time period)
กระบวนการ (Process)
• ความสามารถในการเข้าถึง (accessibility)
• การมีส่วนร่วม (participation)
• การเชื่อมโยง (connectivity)


ที่มา :

เว็บหลัก : http://www4.csc.ku.ac.th

เว็บรอง : http://www4.csc.ku.ac.th/~b5240200661/lesson1.html

เข้าถึงเมื่อ : 16 พ.ย. 2552 เวลา : 13.15

โชคอนันต์ จึงเจริญรัตน์ said...

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

1. มีความถูกต้อง แม่นยำ
2. ทันต่อการใช้งาน (ทันสมัยอยู่เสมอ)
3. ความสมบูรณ์ในตัวเอง
4. มีความกะทัดรัก ชัดเจน
5. ตรงกับความต้องการ

นอกจากนี้สารสนเทศที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้
- มีความลำเอียดแม่นยำ
- มีคุณสมบัติเชิงปริมาณ สามารถแสดงออกมาในรูปของตัวเลข
- มีความยอมรับได้
- ใช้งานได้ง่ายและรวดเร็ว
- ไม่ลำเอียง
- ชัดเจน เข้าใจง่าย
ที่มา เวปรอง http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=numpuang&month=03-2009&date=27&group=7&gblog=6 เวปหลัก http://www.bloggang.com

ธนัท 082 said...

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ข้อมูลที่จะนำมาประมวลผลให้เป็นสารสนเทศที่ดีนั้น จะต้องมีคุณสมบัติพื้นฐานดังนี้ (ครรชิต มาลัยวงศ์, 2539, หน้า 122)
1 ความถูกต้อง ในการเก็บรวบรวมข้อมูลหากข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียหายมาก ผู้ใช้จะไม่สามารถอ้างอิงนำไปใช้ประโยชน์ และอาจเป็นสาเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำและมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบจึงต้องคำนึงถึงวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของการประมวลผลส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องโดยมีสาเหตุมาจากคนหรือเครื่องจักร ดังนั้นการออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้ ให้มากที่สุด
2 ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้และมีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้อย่างรวดเร็ว สามารถให้สารสนเทศที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ ซึ่งมีการออกแบบระบบการเรียกค้นและรายงานตามความต้องการของผู้ใช้
3 ความสมบูรณ์ของสารสนเทศที่ได้นั้นขึ้นอยู่กับการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งเราต้องคำนึงถึงข้อมูลที่เก็บมาด้วยว่าจะต้องมีความสมบูรณ์มากพอที่จะให้ประโยชน์ อย่างครบถ้วนตามความต้องการผู้ใช้หรือไม่ เช่น การเก็บข้อมูลบุคลากร เราอาจให้ความสนใจกับเงินเดือน แต่ถ้าเราไม่เก็บข้อมูลตำแหน่งและระยะเวลาในการทำงาน ก็จะไม่สามารถบอกได้ว่าการปฏิบัติงานของบุคลากรแต่ละตำแหน่ง เป็นต้นมีความแตกต่างกันหรือไม่ ดังนั้นในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศ ต้องสำรวจและสอบถามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ มีความสมบูรณ์เหมาะสม
4 สอดคล้องกับเรื่องที่สนใจ ซึ่งทำให้ทราบถึงความต้องการข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญ ขณะเดียวกันข้อมูลภายในและภายนอก มีจำนวนมาก เราคงไม่สามารถให้ความสนใจหรือจัดเก็บได้หมด ดังนั้นจึงควรมีการสำรวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงาน หรือเลือกเก็บเฉพาะข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการของเราเท่านั้น ไม่จำเป็นต้องพยายามเก็บข้อมูลให้ครบทุกเรื่องและทุกประเด็นเกินไปเพราะทำให้สิ้นเปลืองเวลาและค่าใช้จ่าย
5 ค้นคืนได้สะดวก การจัดเก็บข้อมูลต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมาก จึงจำเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัด สื่อความหมายได้ดี เพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ และมีการใช้รหัสเพื่อเรียกใช้ข้อมูลได้สะดวก สามารถค้นคืนข้อมูลได้ตลอดเวลา

ที่มา...
เวหลัก http://www.surang.sru.ac.th
เข้าถึงเมื่อ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 เวลา 13.10 น.

เวบรอง
http://www.surang.sru.ac.th/com_live/ch_04.doc
เข้าถึงเมื่อ วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 เวลา 13.10 น.

PANG -ZAA084 said...

1. สารสนเทศที่ดีต้องมีความความถูกต้อง (Accurate) และไม่มีความผิดพลาด
2. ผู้ที่มีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาที่เหมาะสม ตาม
ความต้องการของผู้ใช้
3. สารสนเทศต้องมีความชัดเจน (Clarity) ไม่คลุมเครือ
4. สารสนเทศที่ดีต้องมีความสมบูรณ์ (Complete) บรรจุไปด้วยข้อเท็จจริงที่มีสำคัญครบถ้วน
5. สารสนเทศต้องมีความกะทัดรัด (Conciseness) หรือรัดกุม เหมาะสมกับผู้ใช้
6. กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจมักจะต้องสร้างดุลยภาพ
ระหว่างคุณค่าของสารสนเทศกับราคาที่ใช้ในการผลิต
7. ต้องมีความยึดหยุ่น (Flexible) สามารถในไปใช้ในหลาย ๆ เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์
8. สารสนเทศที่ดีต้องมีรูปแบบการนำเสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกับผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
9. สารสนเทศที่ดีต้องตรงกับความต้องการ (Relevant/Precision) ของผู้ที่ทำการตัดสินใจ
10. สารสนเทศที่ดีต้องมีความน่าเชื่อถือ (Reliable) เช่น เป็นสารสนเทศที่ได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมที่น่าเชื่อ ถือ หรือแหล่ง (Source) ที่น่าเชื่อถือ เป็นต้น
11. สารสนเทศที่ดีควรมีความปลอดภัย (Secure) ในการเข้าถึงของผู้ไม่มีสิทธิใช้สารสนเทศ
12. สารสนเทศที่ดีควรง่าย (Simple) ไม่สลับซับซ้อน มีรายละเอียดที่เหมาะสม (ไม่มากเกินความจำเป็น)
13. สารสนเทศที่ดีต้องมีความแตกต่าง หรือประหลาด (Surprise) จากข้อมูลชนิดอื่น ๆ
14. สารสนเทศที่ดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือสามารถส่ง
ถึงผู้รับได้ในเวลาที่ผู้ใช้ต้องการ
15. สารสนเทศที่ดีต้องเป็นปัจจุบัน (Up to Date) หรือมีความทันสมัย ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นนั้นจะไม่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
16. สารสนเทศที่ดีต้องสามารถพิสูจน์ได้ (Verifiable) หรือตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ว่ามีความถูกต้อง

ที่มา :

เวปรอง http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=418c374198be5812 เข้าถึงเมื่อ 16 พ.ย. 2552 เวลา 13:11 น.
เวปหลัก http://guru.google.co.th/เข้าถึงเมื่อ 16 พ.ย. 2552 เวลา 13:11 น.

Unknown said...

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี ควรจะมีองค์ประกอบใน
4 ลักษณะ ต่อไปนี้
1. ต้อง มีค่า ถูกต้อง เที่ยงตรง (Correctness and relevant) สารสนเทศที่ ถูกต้องและไม่ผิดพลาด จะทำให้ ผู้ ใ ช้ได้ข้อมูลสมบูรณ์ และสามารถ ทำงานในส่วนของตน รับผิดชอบได้อย่างเต็มความสามารถไม่ต้องกังวลว่าได้รับข้อมูลที่ผิดพลาด ระบบสารสนเทศ ที่มีความถูกต้องเที่ยงตรงเหล่า นั้นก็จะถูกจัดว่าเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ
2. สารสนเทศ เป็นปัจจุบัน (current) ข้อมูล ที่จะนำมาเปลี่ยนสภาพเป็นสารสนเทศ อาจ จะ มีการเปลี่ยน แปลง ไป อยู่เสมอ ตามกาลเวลา ตามความต้องการ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับเกรดเฉลี่ยของ นิสิต/ นักศึกษาในแฟ้มประวัติของนักศึกษา ซึ่ง จะต้องเปลี่ยน แปลง ไปในแต่ละภาค การศึกษา ระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องยืดหยุ่น โดย ให้มีการเปลี่ยน แปลง ค่าให้เป็นปัจจุบัน อยู่เสมอ หรือ ยัง คง เก็บ ค่าเก่าไว้เพื่อประโยชน์ ใน การใช้งาน ในกรณีอื่น ๆ ที่ แตกต่างกัน ไป
3. สารสนเทศที่ ทันเวลา (timely) สารสนเทศมีคุณค่าทางเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง ถ้าไม่ได้สารสนเทศในเวลาที่ต้องการ อาจจะเกิดการสูญเสียโอกาสที่ไม่อาจจะได้กลับมาใหม่ ถ้า มหาวิทยาลัย ไม่สามารถหาข้อมูลสารสนเทศได้ทันเวลาประมูล มหาวิทยาลัย ก็อาจจะเสียโอกาสนั้นไป ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพคือ ระบบที่จะต้องจัดสรรให้ได้สารสนเทศเมื่อผู้ใช้ต้องการ ในเวลาที่ต้องการ
4. ไม่มีความขัดแย้งกัน (consistant) ในหลาย ๆ กรณี สารสนเทศ ทำให้ เกิดความขัดแย้ง กันของ ข้อมูลที่จัดเก็บในหลาย ๆ ที่ หลาย ๆ แหล่งข้อมูล ซึ่งจะทำให้ข้อมูลหรือสารสนเทศเหล่านั้น ไม่ตรงกัน ได้ หรือแม้แต่ วิธีการประมวลผลที่ แตก ต่างกัน ก็ อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น ได้ ดังนั้น ข้อมูล ที่ มีความคงที่มากที่สุด จะทำให้ข้อมูลมีคุณค่าควรแก่การใช้
ที่มา :
เว็บหลัก http://tsl.tsu.ac.th
เว็บรอง http://tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/database/lesson1/lesson1.htm
เข้าถึงเมื่อ 16 พ.ย.52

dang097 said...

คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ในการจัดการเพื่อให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่องค์การตั้งไว้นั้น ดังที่กล่าวมาแล้วว่าข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างมากต่อทุกองค์การ ทั้งนี้สารสนเทศที่ดีควรมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้นประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กับความถูกต้องหรือความเที่ยงตรง ย่อมส่งผลกระทบทำให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย
2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้องแล้ว ยังจะต้องมีคุณสมบัติของการที่สามารถนำสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้าผู้บริหารได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการดำเนินงานของผู้บริหารที่จะลดลงตามไปด้วย
3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณ์ที่จะช่วยทำให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลของการดำเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็นสารสนเทศที่ไม่มีความสำคัญ เช่นเดียวกับการมีสารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจทำให้ไม่ได้สารสนเทศที่สำคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ ราคาต่อหน่วย แหล่งผู้ผลิตค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอยของสินค้าแต่ละชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ ก็จำเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศในทุกเรื่อง การขาดไปเพียงบางเรื่องจะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจอย่างมากเป็นต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ แต่จะต้องได้รับสารสนเทศที่สำคัญครบในทุกด้านที่ทำการตัดสินใจ
4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจได้ ดังนั้นในการที่องค์การจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนั้น การสอบถามความต้องการของสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างมาก เช่น สนเทศในการบริหารการผลิต การตลาด และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ ทั้งนี้เพื่อให้การตัดสินใจได้เกิดความรอบครอบ การที่ผู้บริหารมองเห็นสารสนเทศบางเรื่องแล้วพบว่าทำไมจึงมีค่าที่ต่ำเกินไป หรือสูงเกินไป อาจต้องตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้มา ทั้งนี้ก็เพื่อมิให้การติดสินใจเกิดความผิดพลาด
ที่มา เว็บรองhttp://science.rbru.ac.th/~prasan/s0400121/Lesson1.doc
เว็บหลัก http://science.rbru.ac.th
เข้าถึงเมื่อ 16 rp 2552 13.20 น.

(--") aof 081 said...

ธนภูมิ พุ่มจันทร์ รหัส 0648081
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี ควรจะมีองค์ประกอบใน 4ลักษณะ ต่อไปนี้

1. ต้อง มีค่า ถูกต้อง เที่ยงตรง (Correctness and relevant) สารสนเทศที่ ถูกต้องและไม่ผิดพลาด จะทำให้ ผู้ ใ ช้ได้ข้อมูลสมบูรณ์ และสามารถ ทำงานในส่วนของตน รับผิดชอบได้อย่างเต็มความสามารถไม่ต้องกังวลว่าได้รับข้อมูลที่ผิดพลาด ระบบสารสนเทศ ที่มีความถูกต้องเที่ยงตรงเหล่า นั้นก็จะถูกจัดว่าเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ

2. สารสนเทศ เป็นปัจจุบัน (current) ข้อมูล ที่จะนำมาเปลี่ยนสภาพเป็นสารสนเทศ อาจ จะ มีการเปลี่ยน แปลง ไป อยู่เสมอ ตามกาลเวลา ตามความต้องการ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับเกรดเฉลี่ยของ นิสิต/ นักศึกษาในแฟ้มประวัติของนักศึกษา ซึ่ง จะต้องเปลี่ยน แปลง ไปในแต่ละภาค การศึกษา ระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องยืดหยุ่น โดย ให้มีการเปลี่ยน แปลง ค่าให้เป็นปัจจุบัน อยู่เสมอ หรือ ยัง คง เก็บ ค่าเก่าไว้เพื่อประโยชน์ ใน การใช้งาน ในกรณีอื่น ๆ ที่ แตกต่างกัน ไป

3. สารสนเทศที่ ทันเวลา (timely) สารสนเทศมีคุณค่าทางเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง ถ้าไม่ได้สารสนเทศในเวลาที่ต้องการ อาจจะเกิดการสูญเสียโอกาสที่ไม่อาจจะได้กลับมาใหม่ ถ้า มหาวิทยาลัย ไม่สามารถหาข้อมูลสารสนเทศได้ทันเวลาประมูล มหาวิทยาลัย ก็อาจจะเสียโอกาสนั้นไป ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพคือ ระบบที่จะต้องจัดสรรให้ได้สารสนเทศเมื่อผู้ใช้ต้องการ ในเวลาที่ต้องการ

4. ไม่มีความขัดแย้งกัน (consistant) ในหลาย ๆ กรณี สารสนเทศ ทำให้ เกิดความขัดแย้ง กันของ ข้อมูลที่จัดเก็บในหลาย ๆ ที่ หลาย ๆ แหล่งข้อมูล ซึ่งจะทำให้ข้อมูลหรือสารสนเทศเหล่านั้น ไม่ตรงกัน ได้ หรือแม้แต่ วิธีการประมวลผลที่ แตก ต่างกัน ก็ อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น ได้ ดังนั้น ข้อมูล ที่ มีความคงที่มากที่สุด จะทำให้ข้อมูลมีคุณค่าควร

เว็บหลัก: http://tsl.tsu.ac.th/
เว็บรอง: http://tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/database/lesson1/lesson1.htm
เข้าถึงเมื่อ 16 พ.ย. 52 เวลา 13.15 น.

earn0648103 said...

คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ในการจัดการเพื่อให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่องค์การตั้งไว้นั้น ดังที่กล่าวมาแล้วว่าข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างมากต่อทุกองค์การ ทั้งนี้สารสนเทศที่ดีควรมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้นประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กับความถูกต้องหรือความเที่ยงตรง ย่อมส่งผลกระทบทำให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย
2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้องแล้ว ยังจะต้องมีคุณสมบัติของการที่สามารถนำสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้าผู้บริหารได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการดำเนินงานของผู้บริหารที่จะลดลงตามไปด้วย
3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณ์ที่จะช่วยทำให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลของการดำเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็นสารสนเทศที่ไม่มีความสำคัญ เช่นเดียวกับการมีสารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจทำให้ไม่ได้สารสนเทศที่สำคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ ราคาต่อหน่วย แหล่งผู้ผลิตค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอยของสินค้าแต่ละชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ ก็จำเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศในทุกเรื่อง การขาดไปเพียงบางเรื่องจะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจอย่างมากเป็นต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ แต่จะต้องได้รับสารสนเทศที่สำคัญครบในทุกด้านที่ทำการตัดสินใจ
4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจได้ ดังนั้นในการที่องค์การจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนั้น การสอบถามความต้องการของสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างมาก เช่น สนเทศในการบริหารการผลิต การตลาด และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ ทั้งนี้เพื่อให้การตัดสินใจได้เกิดความรอบครอบ การที่ผู้บริหารมองเห็นสารสนเทศบางเรื่องแล้วพบว่าทำไมจึงมีค่าที่ต่ำเกินไป หรือสูงเกินไป อาจต้องตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้มา ทั้งนี้ก็เพื่อมิให้การติดสินใจเกิดความผิดพลาด
เวปหลัก : http://science.rbru.ac.th
เวปรอง : http://science.rbru.ac.th/~prasan/s0400121/Lesson1.doc

วัชรินทร์ said...

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี

1. มีความถูกต้อง แม่นยำ
2. ทันต่อการใช้งาน (ทันสมัยอยู่เสมอ)
3. ความสมบูรณ์ในตัวเอง
4. มีความกะทัดรัก ชัดเจน
5. ตรงกับความต้องการ
เว็บหลัก
www.bloggang.com
เว็บรองhttp://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=numpuang&month=03-2009&date=27&group=7&gblog=6
เข้าถึงเมื่อวันที่ 16 พ.ย. 52 เวลา 13.15

ขนิษฐา0648073 said...

คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี

1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้นประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กับความถูกต้องหรือความเที่ยงตรง ย่อมส่งผลกระทบทำให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย
2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้องแล้ว ยังจะต้องมีคุณสมบัติของการที่สามารถนำสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้าผู้บริหารได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการดำเนินงานของผู้บริหารที่จะลดลงตามไปด้วย
3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณ์ที่จะช่วยทำให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลของการดำเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็นสารสนเทศที่ไม่มีความสำคัญ เช่นเดียวกับการมีสารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจทำให้ไม่ได้สารสนเทศที่สำคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ ราคาต่อหน่วย แหล่งผู้ผลิตค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอยของสินค้าแต่ละชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ ก็จำเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศในทุกเรื่อง การขาดไปเพียงบางเรื่องจะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจอย่างมากเป็นต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ แต่จะต้องได้รับสารสนเทศที่สำคัญครบในทุกด้านที่ทำการตัดสินใจ
4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจได้ ดังนั้นในการที่องค์การจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนั้น การสอบถามความต้องการของสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างมาก เช่น สนเทศในการบริหารการผลิต การตลาด และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ ทั้งนี้เพื่อให้การตัดสินใจได้เกิดความรอบครอบ การที่ผู้บริหารมองเห็นสารสนเทศบางเรื่องแล้วพบว่าทำไมจึงมีค่าที่ต่ำเกินไป หรือสูงเกินไป อาจต้องตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้มา ทั้งนี้ก็เพื่อมิให้การติดสินใจเกิด
ที่มา
เวปหลัก http://www.rbru.ac.th
เวปรอง http://www.rbru.ac.th/courseware/science/4000107/lesson1/lesson1.2.html

เข้าถึงเมื่อ วันจันทร์ที่ 16 พ.ย. 52 เวลา 13.12น.

0o.Hoo-Lay.o0 said...

สารสนเทศที่จัดว่าเป็นสารสนเทศที่ดี จะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้อย 5 ประการด้วยกัน คือ
1. มีความถูกต้อง
2. ทันต่อความต้องการใช้งาน
3. มีความสมบูรณ์
4. กระทัดรัด
5. ตรงกับความต้องการ

เว็บรองhttp://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00002
เว็บหลักhttp://www.itdestination.com
เข้าถึงเมื่อ 16 พย. 2552

Auiizz 0648079 said...

***แก้ไขและเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ค่ะ

ลักษณะที่ดีของสารสนเทศ
1. สารสนเทศที่ดีต้องมีความความถูกต้อง (Accurate) และไม่มีความผิดพลาด
2. ผู้ที่มีสิทธิใช้สารสนเทศสามารถเข้าถึง (Accessible) สารสนเทศได้ง่าย ในรูปแบบ และเวลาที่เหมาะสม ตาม
ความต้องการของผู้ใช้
3. สารสนเทศต้องมีความชัดเจน (Clarity) ไม่คลุมเครือ
4. สารสนเทศที่ดีต้องมีความสมบูรณ์ (Complete) บรรจุไปด้วยข้อเท็จจริงที่มีสำคัญครบถ้วน
5. สารสนเทศต้องมีความกะทัดรัด (Conciseness) หรือรัดกุม เหมาะสมกับผู้ใช้
6. กระบวนการผลิตสารสนเทศต้องมีความประหยัด (Economical) ผู้ที่มีหน้าที่ตัดสินใจมักจะต้องสร้างดุลยภาพ
ระหว่างคุณค่าของสารสนเทศกับราคาที่ใช้ในการผลิต
7. ต้องมีความยึดหยุ่น (Flexible) สามารถในไปใช้ในหลาย ๆ เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์
8. สารสนเทศที่ดีต้องมีรูปแบบการนำเสนอ (Presentation) ที่เหมาะสมกับผู้ใช้ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง
9. สารสนเทศที่ดีต้องตรงกับความต้องการ (Relevant/Precision) ของผู้ที่ทำการตัดสินใจ
10. สารสนเทศที่ดีต้องมีความน่าเชื่อถือ (Reliable) เช่น เป็นสารสนเทศที่ได้มาจากกรรมวิธีรวบรวมที่น่าเชื่อ ถือ หรือแหล่ง (Source) ที่น่าเชื่อถือ เป็นต้น
11. สารสนเทศที่ดีควรมีความปลอดภัย (Secure) ในการเข้าถึงของผู้ไม่มีสิทธิใช้สารสนเทศ
12. สารสนเทศที่ดีควรง่าย (Simple) ไม่สลับซับซ้อน มีรายละเอียดที่เหมาะสม (ไม่มากเกินความจำเป็น)
13. สารสนเทศที่ดีต้องมีความแตกต่าง หรือประหลาด (Surprise) จากข้อมูลชนิดอื่น ๆ
14. สารสนเทศที่ดีต้องทันเวลา (Just in Time : JIT) หรือทันต่อความต้องการ (Timely) ของผู้ใช้ หรือสามารถส่ง
ถึงผู้รับได้ในเวลาที่ผู้ใช้ต้องการ
15. สารสนเทศที่ดีต้องเป็นปัจจุบัน (Up to Date) หรือมีความทันสมัย ใหม่อยู่เสมอ มิเช่นนั้นจะไม่ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว
16. สารสนเทศที่ดีต้องสามารถพิสูจน์ได้ (Verifiable) หรือตรวจสอบจากหลาย ๆ แหล่ง ได้ว่ามีความ



ที่มา :

เว็บหลัก : http://www.oknation.net
เว็บรอง : http://www.oknation.net/blog/kruwut/2008/05/17/entry-1
เข้าถึงเมื่อ : 16 พ.ย. 2552 เวลา : 13.20 น.

อึ้ง0648097 said...

ที่มา http://www.oknation.net

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=258618

เข้าถึงเมื่อ 16 พ.ย. 52

PANG -ZAA084 said...

แก้ไขครั้งที่ 1

1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้นประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กับความถูกต้องหรือความเที่ยงตรง ย่อมส่งผลกระทบทำให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย
2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้องแล้ว ยังจะต้องมีคุณสมบัติของการที่สามารถนำสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้าผู้บริหารได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการดำเนินงานของผู้บริหารที่จะลดลงตามไปด้วย
3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณ์ที่จะช่วยทำให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลของการดำเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็นสารสนเทศที่ไม่มีความสำคัญ เช่นเดียวกับการมีสารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจทำให้ไม่ได้สารสนเทศที่สำคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ ราคาต่อหน่วย แหล่งผู้ผลิตค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอยของสินค้าแต่ละชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ ก็จำเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศในทุกเรื่อง การขาดไปเพียงบางเรื่องจะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจอย่างมากเป็นต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ แต่จะต้องได้รับสารสนเทศที่สำคัญครบในทุกด้านที่ทำการตัดสินใจ
4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจได้ ดังนั้นในการที่องค์การจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนั้น การสอบถามความต้องการของสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างมาก เช่น สนเทศในการบริหารการผลิต การตลาด และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ ทั้งนี้เพื่อให้การตัดสินใจได้เกิดความรอบครอบ การที่ผู้บริหารมองเห็นสารสนเทศบางเรื่องแล้วพบว่าทำไมจึงมีค่าที่ต่ำเกินไป หรือสูงเกินไป อาจต้องตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้มา ทั้งนี้ก็เพื่อมิให้การติดสินใจเกิดความผิด
ที่มา:
เวปรอง http://science.rbru.ac.th/~prasan/s0400121/Lesson1.doc เข้าถึงเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2552 13.15 น.

เวปหลัก http://science.rbru.ac.th/เข้าถึงเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2552 13.15 น.

sajoob-090 said...

ครั้งที่ 2

คุณสมบัติสารสนเทศที่ดี มีดังนี้

1. มีความถูกต้อง

2. ความรวดเร็ว

3. ความสมบูรณ์

4. ความชัดเจน กะทัดรัด

5. ยืดหยุ่นได้ ปรับใช้ได้ตลอดเวลา

6. ความสอดคล้องกับสถานการณ์ที่ใช้

ที่มา
http://gotoknow.org/blog/chomyong/168398
http://gotoknow.org
เข้าถึงเมื่อวันที่ 16 พ.ย.2552 เวลา 13.17

นวลจันทร์0648086 said...
This comment has been removed by the author.
นวลจันทร์0648086 said...
This comment has been removed by the author.
Iamboring said...

ณัฎฐกานต์ กำเหนิดสมุทร

0648091

ลักษณะสารสนเทศที่ มีลักษณะดังต่อไปนี้

1. ต้อง มีค่า ถูกต้อง เที่ยงตรง (Correctness and relevant) สารสนเทศที่ ถูกต้องและไม่ผิดพลาด จะทำให้ ผู้ ใ ช้ได้ข้อมูลสมบูรณ์ และสามารถ ทำงานในส่วนของตน รับผิดชอบได้อย่างเต็มความสามารถไม่ต้องกังวลว่าได้รับข้อมูลที่ผิดพลาด ระบบสารสนเทศ ที่มีความถูกต้องเที่ยงตรงเหล่า นั้นก็จะถูกจัดว่าเป็นระบบที่มีประสิทธิภาพ

2. สารสนเทศ เป็นปัจจุบัน (current) ข้อมูล ที่จะนำมาเปลี่ยนสภาพเป็นสารสนเทศ อาจ จะ มีการเปลี่ยน แปลง ไป อยู่เสมอ ตามกาลเวลา ตามความต้องการ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับเกรดเฉลี่ยของ นิสิต/ นักศึกษาในแฟ้มประวัติของนักศึกษา ซึ่ง จะต้องเปลี่ยน แปลง ไปในแต่ละภาค การศึกษา ระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องยืดหยุ่น โดย ให้มีการเปลี่ยน แปลง ค่าให้เป็นปัจจุบัน อยู่เสมอ หรือ ยัง คง เก็บ ค่าเก่าไว้เพื่อประโยชน์ ใน การใช้งาน ในกรณีอื่น ๆ ที่ แตกต่างกัน ไป

3. สารสนเทศที่ ทันเวลา (timely) สารสนเทศมีคุณค่าทางเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง ถ้าไม่ได้สารสนเทศในเวลาที่ต้องการ อาจจะเกิดการสูญเสียโอกาสที่ไม่อาจจะได้กลับมาใหม่ ถ้า มหาวิทยาลัย ไม่สามารถหาข้อมูลสารสนเทศได้ทันเวลาประมูล มหาวิทยาลัย ก็อาจจะเสียโอกาสนั้นไป ระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพคือ ระบบที่จะต้องจัดสรรให้ได้สารสนเทศเมื่อผู้ใช้ต้องการ ในเวลาที่ต้องการ

4. ไม่มีความขัดแย้งกัน (consistant) ในหลาย ๆ กรณี สารสนเทศ ทำให้ เกิดความขัดแย้ง กันของ ข้อมูลที่จัดเก็บในหลาย ๆ ที่ หลาย ๆ แหล่งข้อมูล ซึ่งจะทำให้ข้อมูลหรือสารสนเทศเหล่านั้น ไม่ตรงกัน ได้ หรือแม้แต่ วิธีการประมวลผลที่ แตก ต่างกัน ก็ อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น ได้ ดังนั้น ข้อมูล ที่ มีความคงที่มากที่สุด จะทำให้ข้อมูลมีคุณค่าควรแก่การใช้งาน

เวปหลัก http://tsl.tsu.ac.th

เวปรอง
http://tsl.tsu.ac.th/file.php/1/courseware/database/lesson1/lesson1.htm

เข้าถึงเมื่อ วันที่ 16 พฤศจิกายน 2552

earn0648103 said...

แก้ไขค่ะ
ลักษณะของระบบสารสนเทศที่ดี



เกณฑ์บอกลักษณะระบบสารสนเทศที่ดี มีดังนี้

1. ผสมผสาน ระบบที่ดีต้องผสมผสานข้อมูลจากทุกแหล่งทั้งในและนอกองค์การ และสามารถหาคำตอบได้โดยรวดเร็ว ถูกต้อง และครบถ้วน และทันการณ์

2. ใช้สะดวก ระบบที่ดีต้องทำให้ผู้ใช้ใช้ได้สะดวกอยู่เสมอ หากมีปัญหา สามารถจัดการได้รวดเร็ว

3. พร้อมเพื่อการแข่งขัน องค์กรในปัจจุบันต้องมีความรับผิดชอบสูง และมักอยู่ในท่ามกลางคู่แข่ง ที่ต้องทำหน้าที่แข่งกันในลักษณะใดลักษณะหนึ่งอยู่เสมอ ระบบสารสนเทศจะต้องเอื้ออำนวยให้สามารถก้าวก่อนองค์กรอื่นๆได้ ย่อมเป็นระบบที่ดี

4. ระบบปฏิบัติการดี ระบบปฏิบัติการที่ใช้จะต้องมีลักษณะเชื่อถือได้ ตอบสนองได้อย่างยืดหยุ่น คงทน ขยายระบบได้ง่าย และซ่อมบำรุงง่าย

5. กระบวนการจัดกระทำดี กล่าวคือจะต้องมีลักษณะอย่างน้อย 4 ลักษณะ คือ รับข้อมูลได้มาก รับข้อมูลที่ซับซ้อนได้ ใช้เวลาประมวลผลสั้น และตอบสนองต่อความต้องการใหม่ๆได้เสมอ

6. ตอบสนององค์กรได้หลากหลายแบบ กล่าวคือระบบจะต้องสามารถปรับเพื่อตอบสนองความต้องการได้ แม้จะมีการเปลี่ยนรูปองค์กรไปก็ตาม

7. คุ้มค่า เป็นระบบที่ไม่แพงจนเกินไป และสามารถใช้ได้อย่างคุ้มค่า

8. น่าใช้ บุคลากรไม่น้อยต่อต้านเทคโนโลยี ความน่าใช้ของระบบจะช่วยแก้ปัญหาได้ ความน่าใช้อาจหมายรวมการใช้สะดวกที่กล่าวมาแล้ว แต่หมายรวมถึงช่วยให้ทำงานง่ายขึ้น ทำให้การทำงานกับการทำข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน เป็นกระบวนการเดียวกันเป็นส่วนใหญ่

9. เป็นอัตโนมัติ โดยเหตุที่ระบบงานโดยทั่วไปมีความกว้างขวาง ยากที่จะจัดทำระบบที่อัตโนมัติได้ทั้งหมด แต่ควรทำมากที่สุด และจัดให้มีระบบเสริมเป็นครั้งคราวให้น้อยที่สุด
ที่มา:
เวปหลัก : http://gotoknow.org
เวปรอง : http://gotoknow.org/blog/pankew/245201
เข้าถึงเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2552 เวลา 13.22 น.

วัชรินทร์ said...

คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ในการจัดการเพื่อให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่องค์การตั้งไว้นั้น ดังที่กล่าวมาแล้วว่าข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างมากต่อทุกองค์การ ทั้งนี้สารสนเทศที่ดีควรมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้นประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กับความถูกต้องหรือความเที่ยงตรง ย่อมส่งผลกระทบทำให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย
2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้องแล้ว ยังจะต้องมีคุณสมบัติของการที่สามารถนำสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้าผู้บริหารได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการดำเนินงานของผู้บริหารที่จะลดลงตามไปด้วย
3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณ์ที่จะช่วยทำให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลของการดำเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็นสารสนเทศที่ไม่มีความสำคัญ เช่นเดียวกับการมีสารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจทำให้ไม่ได้สารสนเทศที่สำคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ ราคาต่อหน่วย แหล่งผู้ผลิตค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอยของสินค้าแต่ละชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ ก็จำเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศในทุกเรื่อง การขาดไปเพียงบางเรื่องจะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจอย่างมากเป็นต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ แต่จะต้องได้รับสารสนเทศที่สำคัญครบในทุกด้านที่ทำการตัดสินใจ
4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจได้ ดังนั้นในการที่องค์การจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนั้น การสอบถามความต้องการของสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างมาก เช่น สนเทศในการบริหารการผลิต การตลาด และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ ทั้งนี้เพื่อให้การตัดสินใจได้เกิดความรอบครอบ การที่ผู้บริหารมองเห็นสารสนเทศบางเรื่องแล้วพบว่าทำไมจึงมีค่าที่ต่ำเกินไป หรือสูงเกินไป อาจต้องตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้มา ทั้งนี้ก็เพื่อมิให้การติดสินใจเกิดความผิดพลาด
เว็บหลัก
http://science.rbru.ac.th
เว็บรอง
http://science.rbru.ac.th/~prasan/s0400121/Lesson1.doc
เข้าถึงเมื่อ 16 พ.ย. 52 เวลา 13.20

earn0648103 said...

ข้อ 2.2
1. ห้องสมุด
2. อินเตอร์เนต
3. พิพิธภัณฑ์

อึ้ง0648097 said...

ครั้งที่ 2

เรียนรู้จาก...พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
(www.thailandmuseum.com)

เจ๊จูน said...

ตอบ 2.1 นะค่ะ
1.แหล่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
2.พิพิธภัณฑ์
3.ห้องสมุด หอสมุด
4.รายการทางโทรทัศน์
5.ผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน

jintajung106 said...

คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ในการจัดการเพื่อให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่องค์การตั้งไว้นั้น ดังที่กล่าวมาแล้วว่าข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างมากต่อทุกองค์การ ทั้งนี้สารสนเทศที่ดีควรมีลักษณะ ดังต่อไปนี้

1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้นประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กับความถูกต้องหรือความเที่ยงตรง ย่อมส่งผลกระทบทำให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย

2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้องแล้ว ยังจะต้องมีคุณสมบัติของการที่สามารถนำสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้าผู้บริหารได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการดำเนินงานของผู้บริหารที่จะลดลงตามไปด้วย

3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณ์ที่จะช่วยทำให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลของการดำเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็นสารสนเทศที่ไม่มีความสำคัญ เช่นเดียวกับการมีสารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจทำให้ไม่ได้สารสนเทศที่สำคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ ราคาต่อหน่วย แหล่งผู้ผลิตค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอยของสินค้าแต่ละชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ ก็จำเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศในทุกเรื่อง การขาดไปเพียงบางเรื่องจะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจอย่างมากเป็นต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ แต่จะต้องได้รับสารสนเทศที่สำคัญครบในทุกด้านที่ทำการตัดสินใจ

4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจได้ ดังนั้นในการที่องค์การจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนั้น การสอบถามความต้องการของสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างมาก เช่น สนเทศในการบริหารการผลิต การตลาด และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น

5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ ทั้งนี้เพื่อให้การตัดสินใจได้เกิดความรอบครอบ การที่ผู้บริหารมองเห็นสารสนเทศบางเรื่องแล้วพบว่าทำไมจึงมีค่าที่ต่ำเกินไป หรือสูงเกินไป อาจต้องตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้มา ทั้งนี้ก็เพื่อมิให้การติดสินใจเกิดความผิดพลาด

ที่มา
เว็บหลัก http://science.rbru.ac.th
เว็บรอง http://science.rbru.ac.th/~prasan/s0400121/Lesson1.doc
เข้าถึงเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 เวลา 13.25 น.

00ZhuCheeZ0648083 said...

เกณฑ์บอกลักษณะสารสนเทศที่ดี มีดังนี้

1.ผสมผสาน ระบบที่ดีต้องผสมผสานข้อมูลจากทุกแหล่งทั้งในและนอกองค์การ และสามารถหาคำตอบได้โดยรวดเร็ว ถูกต้อง และครบถ้วน และทันการณ์

2. ใช้สะดวก ระบบที่ดีต้องทำให้ผู้ใช้ใช้ได้สะดวกอยู่เสมอ หากมีปัญหา สามารถจัดการได้รวดเร็ว

3. พร้อมเพื่อการแข่งขัน องค์กรในปัจจุบันต้องมีความรับผิดชอบสูง และมักอยู่ในท่ามกลางคู่แข่ง ที่ต้องทำหน้าที่แข่งกันในลักษณะใดลักษณะหนึ่งอยู่เสมอ ระบบสารสนเทศจะต้องเอื้ออำนวยให้สามารถก้าวก่อนองค์กรอื่นๆได้ ย่อมเป็นระบบที่ดี

4.ระบบปฏิบัติการดี ระบบปฏิบัติการที่ใช้จะต้องมีลักษณะเชื่อถือได้ ตอบสนองได้อย่างยืดหยุ่น คงทน ขยายระบบได้ง่าย และซ่อมบำรุงง่าย

5. กระบวนการจัดกระทำดี กล่าวคือจะต้องมีลักษณะอย่างน้อย 4 ลักษณะ คือ รับข้อมูลได้มาก รับข้อมูลที่ซับซ้อนได้ ใช้เวลาประมวลผลสั้น และตอบสนองต่อความต้องการใหม่ๆได้เสมอ

6. ตอบสนององค์กรได้หลากหลายแบบ กล่าวคือระบบจะต้องสามารถปรับเพื่อตอบสนองความต้องการได้ แม้จะมีการเปลี่ยนรูปองค์กรไปก็ตาม

7. คุ้มค่า เป็นระบบที่ไม่แพงจนเกินไป และสามารถใช้ได้อย่างคุ้มค่า

8. น่าใช้ บุคลากรไม่น้อยต่อต้านเทคโนโลยี ความน่าใช้ของระบบจะช่วยแก้ปัญหาได้ ความน่าใช้อาจหมายรวมการใช้สะดวกที่กล่าวมาแล้ว แต่หมายรวมถึงช่วยให้ทำงานง่ายขึ้น ทำให้การทำงานกับการทำข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน เป็นกระบวนการเดียวกันเป็นส่วนใหญ่

9.เป็นอัตโนมัติ โดยเหตุที่ระบบงานโดยทั่วไปมีความกว้างขวาง ยากที่จะจัดทำระบบที่อัตโนมัติได้ทั้งหมด แต่ควรทำมากที่สุด และจัดให้มีระบบเสริมเป็นครั้งคราวให้น้อยที่สุด

ที่มา:เว็บหลัก http://gotoknow.org
เว็บรอง:http://gotoknow.org/blog/
pankew/245201
เข้าถึงเมื่อ : 16 พฤศจิกายน พ.ศ.2552 เวลา 10.22 น.

YaPoRn 089 said...

ลักษณะของสารสนเทศที่ดีต้องประกอบไปด้วยรายละเอียด ดังนี้
1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) หมายถึง ปราศจากความเอนเอียง สารสนเทศที่ดี ต้องบอกลักษณะความเป็นจริงที่เกิดขึ้น ไม่ชี้นำปทางใดทางหนึ่ง
2. ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ (Relevancy) หมายถึง มีเนื้อหาตรงกับเรื่อง ที่ต้องการใช้ของผู้ใช้แต่ละคน
3. ทันต่อเวลา (Timeliness) หมายถึง สามารถนำสารสนเทศที่ต้องการไปใช้ได้ ทันต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การจัดเตรียมสารสนเทศให้ทันต่อเวลา ที่ต้องการใช้ มี 2 ลักษณะ คือ การจัดทำสารสนเทศล่วงหน้าตามกำหนดเวลาที่เหตุการณ์จะเกิดในอนาคต และการจัดทำสาร สนเทศอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปใช้ในเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้น

เวปหลัก http://eduzones.com
เวปรอง http://blog.eduzones.com/rungnapa/33146 เข้าถึงเมื่อ 16 พ.ย. 2552 เวลา 13.26น.

เจ๊จูน said...

แก้ไขนะค่ะ เมื่อกี๊ตอบข้อ 2.2 ค่ะไม่ใช่ 2.1

อึ้ง0648097 said...

เพิ่มเติมนะคะ

เรียนรู้จาก...อินเตอร์เน็ต
...ห้องสมุด
...วารสารต่างๆ

วัชรินทร์ said...

ลักษณะที่ดีของสารสนเทศ มี 4 มิติ คือ มิติด้านเวลา คือ การทันเวลา ความเป็นปัจจุบัน และการมีข้อมูลทั้งในอดีต ปัจจุบันอนาคต มิติด้านเนื้อหา คือ ความถูกต้องเที่ยงตรง ความสัมพันธ์กับเรื่อง ความสมบูรณ์ ความน่าเชื่อถือได้ รวมยืดหยุ่นและตรวจสอบได้ มิติด้านรูปแบบ รวมถึงความชัดเจนระดับการเสนอรายละเอียดที่เหมาะสม รูปแบบการนำเสนอ สื่อในการนำเสนอและความประหยัด มิติด้านกระบวนการ คือความสามารถในการเข้าถึง
เว็บหลัก
http://www.ru.ac.th
เว็บรอง
http://www.ru.ac.th/hu812/a14.doc
เข้าถึงเมื่อ 16 พ.ย. 52 เวลา 13.25 น.

ธนัท 082 said...

นักศึกษาคิดว่าจะศึกษาแหล่งข้อมูลสังคมศึกษา ได้จากที่ใดบ้าง ให้ร่วมกันแสดงความคิดเห็น .....
1. Internet ที่เกี่ยวข้องกับสาขาสังคมศึกษา

2. พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้เกี่ยวกับสังคมศึกษาที่มีการนำนวัตกรรมและเทคโลยีใหม่มานำเสนอข้อมูลเพื่อความน่าสนใจในการเรียนรู้

3. E - Book ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องราวทางสังคมศึกษาที่เกี่ยวข้อง

jintajung106 said...

แหล่งเรียนรู้ได้จาก

พิพิธภัณธ์ต่างๆทั่วประเทศ

หอสมุด

อินเตอร์เน็ตเว็บไซด์ต่างๆ

สถานที่จริง

จากบุคคลต่างๆที่เกี่ยวข้อง

จากวารสารต่างๆ

จากสื่อโทรทัศน์วิทยุ

เกียรติพงษ์072 said...

ตอบข้อ 2.2 ค่ะ
ในการศีกษาหรือหาข้อมูลแหล่งเรียนรู้ทางสังคมศึกษาได้จาก เว็ปไซด์ วีดีทัศน์ หนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ วารสาร พิพิธภัณฑ์ หอสมุด สถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ แหล่งเรียนรุ้ในชุมชนต่างๆ หรืออาจสอบถามจากครู อาจารย์ ผู้รู้ ปราชญ์ชาวบ้าน

Unknown said...

ข้อ 2.2
1. ห้องสมุด
2. พิพิธภัณฑ์
3. แหล่งเรียนรู้ชุมชน
4. วัด โบราณสถานในชุมชน

Mang--Kudd104 said...

คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดี
ในการจัดการเพื่อให้องค์การบรรลุถึงประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่องค์การตั้งไว้นั้น ดังที่กล่าวมาแล้วว่าข้อมูลและสารสนเทศเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญอย่างมากต่อทุกองค์การ ทั้งนี้สารสนเทศที่ดีควรมีลักษณะ ดังต่อไปนี้
1. ความเที่ยงตรง (Accuracy) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีความเที่ยงตรงและเชื่อถือได้ โดยไม่ให้มีความคลาดเคลื่อนหรือมีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด ดังนั้นประสิทธิผลของการตัดสินใจจึงขึ้นอยู่กับความถูกต้องหรือความเที่ยงตรง ย่อมส่งผลกระทบทำให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดตามไปด้วย
2. ทันต่อความต้องการใช้ (Timeliness) นอกเหนือจากสารสนเทศขององค์การจะต้องมีความเที่ยงตรงหรือความถูกต้องแล้ว ยังจะต้องมีคุณสมบัติของการที่สามารถนำสารสนเทศมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการตัดสินใจ ทั้งนี้เนื่องจากเหตุการณ์ต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งภายในและภายนอกองค์การมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสารสนเทศด้านการขาย การผลิต ตลอดจนด้านการเงิน ถ้าผู้บริหารได้รับมาล่าช้า ก็จะส่งผลกระทบต่อ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการตัดสินใจ หรือการดำเนินงานของผู้บริหารที่จะลดลงตามไปด้วย
3. ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศขององค์การที่ดี จะต้องมีความสมบูรณ์ที่จะช่วยทำให้การตัดสินใจเป็นไปด้วยความถูกต้อง การมีสารสนเทศที่มีปริมาณมาก ไม่ได้หมายถึงการที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิผลของการดำเนินงาน สารสนเทศที่มีมากเกินไปอาจเป็นสารสนเทศที่ไม่มีความสำคัญ เช่นเดียวกับการมีสารสนเทศที่มีปริมาณน้อยเกินไป ก็อาจทำให้ไม่ได้สารสนเทศที่สำคัญครบเพียงพอทุกด้านที่จะนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้มิได้หมายความว่าจะต้องรอให้มีสารสนเทศครบถ้วน 100 เปอร์เซ็นต์ก่อนจึงจะทำการตัดสินใจได้ เช่น จะตัดสินใจเกี่ยวกับอัตราการใช้สินค้า ปริมาณสินค้าคงเหลือ ราคาต่อหน่วย แหล่งผู้ผลิตค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา ระยะเวลารอคอยของสินค้าแต่ละชนิด ดังนั้นจะตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารสินค้าคงเหลือให้มีประสิทธิภาพ ก็จำเป็นที่จะต้องได้รับสารสนเทศในทุกเรื่อง การขาดไปเพียงบางเรื่องจะส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจอย่างมากเป็นต้น จากตัวอย่างจะเห็นได้ว่า ไม่ได้หมายความว่ามีสารสนเทศมากเฉพาะในบางด้าน ขณะที่สารสนเทศในบางด้านไม่มีหรือมีไม่เพียงพอต่อการตัดสินใจ แต่จะต้องได้รับสารสนเทศที่สำคัญครบในทุกด้านที่ทำการตัดสินใจ
4. การสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (Relevance) สารสนเทศขององค์การที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญอีกประการหนึ่งก็คือ จะต้องตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ที่จะนำไปใช้ในการตัดสินใจได้ ดังนั้นในการที่องค์การจะออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศในองค์การนั้น การสอบถามความต้องการของสารสนเทศที่ผู้ใช้ต้องการเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างมาก เช่น สนเทศในการบริหารการผลิต การตลาด และการบริหารทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น
5. ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้ ทั้งนี้เพื่อให้การตัดสินใจได้เกิดความรอบครอบ การที่ผู้บริหารมองเห็นสารสนเทศบางเรื่องแล้วพบว่าทำไมจึงมีค่าที่ต่ำเกินไป หรือสูงเกินไป อาจต้องตรวจสอบความถูกต้องของสารสนเทศที่ได้มา ทั้งนี้ก็เพื่อมิให้การติดสินใจเกิดความผิดพลาด
ที่มา :
เว็บหลัก http://science.rbru.ac.th
เว็บรอง http://science.rbru.ac.th/~prasan/s0400121/Lesson1.doc

เข้าถึงเมื่อ วันจันทร์ที่ 16 พฤศจิกายน 2552

ขนิษฐา0648073 said...

ข้อ 2.2
1.ห้องสมุด
2.พิพิธภัณฑ์
3.หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ
4.อินเตอร์เน็ต
5.ผู้รู้ในชุมชน

somZA said...

ลักษณะสารสนเทศที่ดี


เนื้อหา (Content)
• ความสมบรูณ์ครอบคลุม (completen ess)
• ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance)
• ความถูกต้อง (accuracy)
• ความเชื่อถือได้ (reliability)
• การตรวจสอบได้ (verifiability)

รูปแบบ (Format)
• ชัดเจน (clarity)
• ระดับรายละเอียด (level of detail)
• รูปแบบการนำเสนอ (presentation)
• สื่อการนำเสนอ (media)
• ความยืดหยุ่น (flexibility)
• ประหยัด (economy)

เวลา (Time)
• ความรวดเร็วและทันใช้ (timely)
• การปรับปรุงให้ทันสมัย (up-to-date)
• มีระยะเวลา (time period)

กระบวนการ (Process)
• ความสามารถในการเข้าถึง (accessibility)
• การมีส่วนร่วม (participation)
• การเชื่อมโยง (connectivity)

ที่มา
เว็บหลัก www.elearning.northcm.ac.th
เว็บรอง http://elearning.northcm.ac.th/mis/content.asp?ContentID=2&LessonID=1

PRAE-0648095 said...

ข้อ 2.2 แหล่งเรียนรู้ทางสังคมศึกษา
-หอสมุดหรือห้องสมุด
-พิพิธภัณฑ์
-แหล่งเรียนรู้ของแต่ละชุมชน
-อินเทอร์เน็ต
-หนังสือ วารสาร และหนังสือพิมพ์
-โทรทัศน์

เจ๊จูน said...

เพิ่มเติม รายการทางโทรทัศน์ รายการกบนอกกะลา

Rujirek099 said...

ครั้งที่ 2 แหล่งเรียนรู้ทางสังคมศึกษา

หนังสือ วารสาร เอกสารต่างๆ

อินเตอร์เน็ตที่เกี่ยวข้องกับสังคมศึกษา

ชุมชน พิพิธภัณฑ์ต่างๆ

แค่นี้ก่อนนะคะ คิดได้อีกแล้วจะเพิ่มเติม

นวลจันทร์0648086 said...

จีราภรณ์ รักษาแก้ว กล่าวว่า สารสนเทศที่ดีนั้นควรมีคุณสมบัติที่สำคัญ 5 ประการ16 คือ
1.ทันต่อเวลา หมายถึง สารสนเทศที่ดีจะต้องเป็นสารสนเทศที่ทันต่อเหตุการณ์ในการใช้
ประโยชน์ จะต้องเป็นข้อมูลสารสนเทศที่ไม่ล่าช้าหรือล้าสมัย
2. ตรงต่อความต้องการ หมายถึง สารสนเทศที่ใช้ในการสื่อความหมายการรับรู้ และ
ความเข้าใจให้เกิดกับผู้บริหารได้ถูกต้อง เช่น การรายงานผลข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การประมวลผล
ข้อมูล เป็นต้น
3. มีความถูกต้อง หมายถึง สารสนเทศจะต้องแสดงถึงคุณค่าและประโยชน์ให้ผู้บริหาร
ตัดสินใจได้ทันท่วงที และสามารถนำข้อมูลสารสนเทศเหล่านั้นมาประกอบการวางแผนได้ถูกต้อง
4. มีความสมบูรณ์ หมายถึง สารสนเทศที่ดีจะต้องได้มาจากการรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริงที่มี
อยู่อย่างกระจัดกระจาย นำมารายงานเป็นสารสนเทศที่ครอบคลุม ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการวางแผน
การตัดสินใจได้ถูกต้อง
5. มีความกะทัดรัด หมายถึง สารสนเทศที่แสดงสาระสำคัญตามที่ผู้บริหารต้องการเท่านั้น

ที่มา ชื่อผู้แต่ง สริต วิจิตรโชติ
ชื่อวิทยานิพนธ์ การจัดระบบสารสนเทศเพื่อประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี เขต 1 (The management of information system for educational quality assurance of basic education schools under Kanchanaburi educational service area office 1) ระดับ ปริญญาโท

เว็บหลัก http://www.thapra.lib.su.ac.th
เว็บรอง http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis/showthesis_th.asp?id=0000003841

dang097 said...

ข้อ 2.2 แหล่งข้อมูลสังคมศึกษา เช่น ห้องสมุด หนังสือ พิพิธภัณฑ์ เว็บไซต์ โบราณสถาน อาจารย์ วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น

Iamboring said...

ณัฎฐกานต์ กำเหนิดสมุทร 0648091

2.2 นักศึกษาคิดว่าจะศึกษาแหล่งข้อมูลสังคมศึกษา ได้จากที่ใดบ้าง

1. ชุมชนของตนเอง/ชุมชนใกล้เคียง
2. พิพิธภัณฑ์ต่างๆ
3. ห้องสมุด/หนังสือ/วารสาร
4. อินเตอร์เน็ต
5. รายการสารคดีทางโทรทัศน์
6. ผู้รู้ (Guru)ด้านต่างๆ
7. การศึกษาจากสถานที่จริง

YaPoRn 089 said...

ข้อ 2.2 นะค่ะ
แหล่งข้อมูล
แหล่งข้อมูลจากหนังสือ วารสารสิ่งพิมพ์ อินเตอร์เน็ท จากการสัมภาษณ์ จากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ฯลฯ...

somZA said...

เราสามารถใช้แหล่งข้อมูลสังคมศึกษาจาก
1. ห้องสมุด
2. อินเตอร์เน็ต
3. พิพิธภัณฑ์ต่างๆ

โชคอนันต์ จึงเจริญรัตน์ said...

2.พิพิธภัณฑ์, เว็บไซด์, สื่อการเรียนรู้เช่น ซีดีรอม ซีดี ดีวีดี, ห้องสมุด, สถานที่สำคัญในชุมชน, วัด, โทรทัศน์, การฟังวิทยุ, อีเลินนิง, อีบุก

PANG -ZAA084 said...

2.2 /1
1.ห้องสมุด
2.Internet
3.วารสาร
4.ห้องสมุดประชาชน
5.T.K.PARK
6.ร้านหนังสือชั้นนำ เช่น ซีเอ็ด , นายอินทร์
7.หนังสือพิมพ์

(--") aof 081 said...

ธนภูมิ พุ่มจันทร์ รหัส 0648081

แหล่งเรียนรู้ทางสังคมศึกษา
1. ห้องสมุด
2. พิพิธภัณฑ์
3. วัด
4. ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
5. วารสารสิ่งพิมพ์

Mang--Kudd104 said...

2.2
1. ห้องสมุด
2. สื่อ Internet
3. พิพิธภัณฑ์
4. e-learning
5. e-book
6. ชุมชน
7. วีดีทัศน์
8. สวนพฤกษศาสตร์
9. อุทยานแห่งชาติ

วัชรินทร์ said...

สารสนเทศที่ดี จะต้องเป็นเครื่องมือที่จะช่วยผู้บริหารในการตัดสินใจ วางแผนและ
ควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดความไม่แน่นอน (Un-certain) ให้น้อยลง คุณค่า
ของระบบสารสนเทศ พิจารณาได้จากคุณสมบัติสารสนเทศที่มีผู้กล่าวไว้
1. เรียกใช้ง่าย (Accessibility) มีความสะดวกรวดเร็วในการเรียกใช้
2. ความครบถ้วน (Comprehensiveness) มีปริมาณเพียงพอ มีความสมบูรณ์ ครอบคลุม
พื้นที่การการตัดสินใจ (Decision area) ของผู้ใช้
3. ความถูกต้อง (Accuracy) มีความคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงในระดับต่ำ
4. ความเหมาะสม (Appropriateness) มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กำลังพิจารณา
5. การทันต่อเวลา (Timeliness) ใช้เวลาไม่มากในการจัดทำข้อมูลสารสนเทศทันเวลาที่
ผู้ใช้ต้องการใช้
6. ความชัดเจน ไม่มีความกำกวม ไม่จำเป็นต้องตีความหรือทบทวนความผิดพลาดใหม่
7. ความสามารถยืดหยุ่น สามารถปรับใช้กับผู้ใช้หลายคน และหลายสถานการณ์
8. ความสามารถตรวจสอบ สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ในเรื่องเดียวกัน จากผู้ใช้
หลายๆ คน
9. อิสระจากความลำเอียง ไม่มีความตั้งใจเปลี่ยน หรือปรับปรุงสารสนเทศ ให้มี
อิทธิพลต่อการสรุปผลของผู้ใช้หรือผู้รับ
10.ความสามารถตรวจสภาพปกติ เป็นสารสนเทศที่ผลิตจากระบบสารสนเทศที่เป็น
ทางการไม่ใช่จากข่าวลือ หรือการนินทา
ที่มา
ผการัตน์ พู่กลั่น
จากวิทยานิพนธ์ เรื่อง การพัฒนาชุดฝึกอบรม วิชานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา (Developing of training package innovation and information technology for the educational administration)
เว็บหลัก
http://www.thapra.lib.su.ac.th
เว็บรอง
http://www.thapra.lib.su.ac.th/thesis/showthesis_th.asp?id=0000002802
เข้าถึงเมื่อวันที่ 16 พ.ย. 52 เวลา 13.40 น.

นวลจันทร์0648086 said...
This comment has been removed by the author.
นวลจันทร์0648086 said...
This comment has been removed by the author.
วัชรินทร์ said...

ตอบข้อ 2.2
- พิพิธภัณฑ์ต่างๆ
- อินเตอร์เน็ท
- วารสาร
- ศูนย์การเรียนรู้ตามสถานที่ต่างๆ
- ห้องสมุด

นวลจันทร์0648086 said...

ข้อ 5 สืบค้นได้ง่าย สะดวก

วัชรินทร์ said...

ลักษณะสารสนเทศที่ดีข้อที่ 5 คือ ตรวจสอบได้

เจ๊จูน said...
This comment has been removed by the author.
Mang--Kudd104 said...

สารสนเทศ ข้อสุดท้าย
ตรวจสอบได้ (Verifiability)

0o.Hoo-Lay.o0 said...

ลักษณะที่ดีของสารสนเทศ
ข้อที่ 5 ของข้าพเจ้านั้นก้อคือ
สามารถยืดหยุ่นได้หรือปรับใช้ได้ตลอดเวลา

โชคอนันต์ จึงเจริญรัตน์ said...

ข้อดีของสารสนเทศ ข้อสุดท้ายคือ
กะทัดรัด

sajoob-090 said...

ข้อที่ 5. สารสนเทศต้องมีความกระทัดรัด

PANG -ZAA084 said...

---- ขอโทษ ค่า --------

5. ความสัมพันธ์กับเรื่อง (relevance)




มะรุ้อ่า

{SeXy_BaBiE}_648101 said...

สามารถนำมาบูรณาการกับสารสนเทศประเภทอื่นให้เข้ากันได้อย่างเหมาะสม และได้อย่างง่ายดาย

(--") aof 081 said...

ธนภูมิ พุ่มจันทร์ รหัส 0648081
...ลักษณะของสารสนเทศที่ดี ข้อสุดท้ายคือ

"มีความสัมพันธ์กับเรื่อง"

Auiizz 0648079 said...

ข้อที่ 5 คือ มีความสมบูรณ์ของสาระคำคัญที่ครบถ้วน เชื่อมโยงได้

Unknown said...

สรุปลักษณะของสารสนเทศที่ดี
1. ทันสมัย
2. ถูกต้อง
3. เชื่อถือได้
4. ตรงกับความต้องการ


และข้อสุดท้ายถือ
5. ประหยัดเวลา

earn0648103 said...

ข้อ5
มีรูปแบบการนำเสนอที่น่าสนใจ

Unknown said...

ลักษณะสารสนเทศที่ดี
ข้อที่ 5 เชื่อมโยงกับข้อมูลอื่นได้

เกียรติพงษ์072 said...

5 สามารถตรวจอสอบได้

jintajung106 said...

5.ควรง่ายไม่ยุ่งยากซับซ้อน

ธนัท 082 said...

ลักษระของสารสนเทศที่ดีคือ ...
1. ทันสมัย
2. ถูกต้อง
3. เชื่อถือได้
4. สอดคล้องกับความต้องการ
5. สะดวกต่อการใช้งาน

อึ้ง0648097 said...

ทันสมัย

ถูกต้อง

เชื่อถือได้

สอดคล้องกับความต้องการ

เนื้อหามีความสมบูรณ์ ครบถ้วน

00ZhuCheeZ0648083 said...

ข้อที่ 5 มีเนื้อหาสัมพันธ์กับเรื่อง

dang097 said...

ข้อที่5. มีความกะทัดรัด

Rujirek099 said...

ข้อ 5 สะดวกในการใช้งาน

somZA said...

1.ทันสมัย

2.ถูกต้อง

3.เชื่อถือได้

4.สอดคล้องกับความต้องการ

5.ชัดเจน

Iamboring said...

ณัฎฐกานต์ กำเหนิดสมุทร 0648091

ลักษณะของสารสนเทศที่ดี ข้อที่ 5

สามารถสืบค้นได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ

PRAE-0648095 said...

สรุป
1.ทันสมัย
2.ถูกต้อง
3.เชื่อถือได้
4.สอดคล้องกับความต้องการ
5.เข้าใจง่ายไม่สลับซับซ้อน

เจ๊จูน said...

ผสมผสาน ระบบที่ดีต้องผสมผสานข้อมูลจากทุกแหล่งทั้งในและนอกองค์การ และสามารถหาคำตอบได้โดยรวดเร็ว ถูกต้อง และครบถ้วน และทันการณ์

เจ๊จูน said...

ผสมผสานคือ สามารถนำไปบูรณาการกับแหล่งอื่นๆได้

YaPoRn 089 said...

ข้อ 5
ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สามารถจะตรวจสอบได้โดยเฉพาะแหล่งที่มา การจัดรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ใช้

ขนิษฐา0648073 said...

5.สามารถตรวจสอบได้(ตรวจสอบแหล่งที่มาได้)