Monday, November 8, 2010

ครั้งที่3/2 ให้สรุปประเภทขอสารสนเทศจากการอ่านขัอความที่เพื่อน ๆได้ศึกษาได้กี่รูปแบบ อะไรบ้าง

41 comments:

Monchai_AOF said...

จากการศึกษาประเภทของสารสนเทศ บนโพสของเพื่อนๆ สามารถสรุปได้ว่า สารสนเทศมีทั้งหมด 6 ประเภทดังนี้
1. จำแนกตามการตีพิมพ์
2. จำแนกตามที่มาและการผลิต
3. จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร
4. จำแนกตามการใช้งานและการถ่ายทอด
5. จำแนกตามลักษณะวิธีการผลิต
6. จำแนกตามสภาพการแสวงหา

KannikA 072 =) said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ

สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง

2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้

chuanpit said...

จากการศึกษาสามารถสรุปประเภทของสารสนเทศได้ 7 ลักษณะ ดังนี้
1.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะทรัพยากร
1)ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
2)ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources)
3)ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)

2.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะการแสวงหา
1)สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information)
2)สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information)

3.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามสภาพความต้องการ
1)สารสนเทศที่ทำประจำ
2)สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมายตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศ
3)สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะในการดำเนินงานต่างๆ

4.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร
1)สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information)
2)สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information)

5.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามที่มาและลำดับการผลิต
1)สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources)
2)สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources)
3)สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources)

6.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการจัดตามสาขาความรู้

7.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการใช้และการถ่ายทอด

PORNPAT 074 said...

จากข้อความของเพื่อนๆ สามารถสรุปประเภทของสารสนเทศ ได้ออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆ บนกระดาษ
2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) เป็นวัสดุหรือสื่อที่ให้สาระความรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา โดยการดูและการฟัง
3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)เป็นทรัพยากรที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการบันทึก อ่านหรือฟัง ลักษณะ เป็นทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิตอล
4. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บ
5.สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้

manatsarin089 said...

จากการศึกษาประเภทของสารสนเทศสามารถสรุปประเภทของสารสนเทศได้ 7 ลักษณะ ดังนี้

1.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะทรัพยากร
2.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะการแสวงหา
3.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามสภาพความต้องการ
4.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร
5.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามที่มาและลำดับการผลิต
6.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการจัดตามสาขาความรู้
7.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการใช้และการถ่ายทอด โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะทรัพยากร จำแนกออกเป็น
1)ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
2)ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources)
3)ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)

2.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะการแสวงหา จำแนกออกเป็น
1)สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information)
2)สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information)

3.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามสภาพความต้องการ จำแนกออกเป็น
1)สารสนเทศที่ทำประจำ
2)สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมายตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศ
3)สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะในการดำเนินงานต่างๆ

4.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร จำแนกออกเป็น
1)สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information)
2)สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information)

5.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามที่มาและลำดับการผลิต จำแนกออกเป็น
1)สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources)
2)สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources)
3)สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources)

6.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการจัดตามสาขาความรู้

และ7.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการใช้และการถ่ายทอด

Montean.317 said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ โดยมีหลักในการแบ่งประเภทหลายรูปแบบ พอสรุปได้ดังนี้

1.การจำแนกตามลักษณะของสื่อบันทึก
-สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials)
-สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials)

2.สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา
-สารสนเทศที่หยุดนิ่ง
-สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน

3.สารสนเทศจำแนกตามแหล่งสารสนเทศ หมายถึง การจำแนกสารสนเทศตามการรวบรวมหรือจัดทำสารสนเทศ
-แหล่งปฐมภูมิ (primary source)
-แหล่งทุติยภูมิ (secondary source)
-สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิ (tertiary source)

4.ประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กรได้ 2 ประเภท
-สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information)
-สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information)

Wanlaya said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ
สารสนเทศ สามารถจำแนกได้หลายประเภทโดยใช้เกณฑ์ต่างๆกัน ดังนี้

1. จำแนกโดยใช้รูปแบบการนำเสนอเป็นเกณฑ์ จำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ
1.1 สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่าง
ๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้แก่ หนังสือ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร บทความ ฯลฯ
1.2 สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) ได้แก่ โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน ฯลฯ
1.3 ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources) ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นทรัพยากรที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์เพื่อ ช่วยในการบันทึก อ่านหรือฟัง

2 จำแนกตามลักษณะการแสวงหา เป็นเกณฑ์ จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2.2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

3. จำแนกตามแหล่งสารสนเทศ หมายถึง การจำแนกสารสนเทศตามการรวบรวมหรือจัดทำสารสนเทศ ซึ่งจำแนกได้เป็นแหล่งปฐมภูมิ และแหล่งตติยภูมิ
3.1 แหล่งปฐมภูมิ (primary source) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากแหล่งต้นโดยตรง เป็นสารสนเทศทางวิชาการที่เกี่ยวกับความคิดริเริ่มซึ่งผลิตออกมาในลักษณะการ เผยแพร่ผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย การค้นพบทฤษฎีใหม่ให้นักศึกษา นักวิชาการ และนักวิจัยในวิชาชีพร่วมสาขาได้ศึกษา วิพากษ์วิจารณ์และอาจใช้เป็นแนวทางเพื่อการศึกษา ค้นคว้าและทำวิจัยต่อไป เช่น วารสาร รายงานการวิจัย รายงานการประชุมและสัมมนาทางวิชาการ สิทธิบัตร เอกสารมาตรฐานต่างๆ ต้นฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ และวิทยานิพนธ์ และเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น สารสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3.2 แหล่งทุติยภูมิ (secondary source) เป็นสารสนเทศที่รวบรวม และเรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศที่มีการเผยแพร่แล้วหรือหมายถึง จากสารสนเทศปฐมภูมิ ลักษณะการรวบรวมและเรียบเรียงอาจจัดทำโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น รวบรวม สรุป ย่อเรื่อง จัดหมวดหมู่ ทำดรรชนีและสาระสังเขป ทั้งนี้มีลักษณะการเรียบเรียงเพื่อให้ใช้ข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว เข้าใจได้ง่ายขึ้น สารสนเทศประเภทแหล่งทุติยภูมิ ได้แก่ สื่ออ้างอิงประเภทต่างๆ สารสารที่มีการสรุปย่อและตีความ รวมทั้งหนังสือตำราที่จัดทำโดยรวบรวมเนื้อหาวิชาการสาขาต่างๆเพื่อการเรียน การสอน
3.3 สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิ (tertiary source) เป็นสารสนเทศที่จัดทำในลักษณะรวบรวมขึ้นเพื่อใช้ค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิและ ทุติยภูมิ สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิไม่ให้เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความรู้สาขาวิชาต่างๆ โดยตรงแต่สามารถใช้ประโยชน์ในการค้นหาสารสนเทศที่ให้ความรู้เฉพาะวิชาสาขา ได้ สารสนเทศประเภทนี้ ได้แก่ บรรณานุกรม นามานุกรม หนังสือแนะนำวรรณกรรมเฉพาะสาขาวิชาและบรรณนิทัศน์

Nitiwat06490083 said...

สรุปประเภทของนวัตกรรม
ประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์การได้ 2 ประเภท คือ
1.สารสนเทศภายในองค์การ (Internal Information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการโต้ตอบและแฟ้มการติดต่อ การควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2.สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal Information) เป็นสาสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม
และสามารถจำแนกได้ในการใช้งานได้ 3 ประเภท
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่าง
ๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ จุลสาร ข่าว บทความ
2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ เช่น โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน วัสดุอิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูล
3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นทรัพยากรที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยในการบันทึก อ่านหรือฟัง ลักษณะ เป็นทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิตอล

Wanlaya said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ (ต่อ)
สารสนเทศ สามารถจำแนกได้หลายประเภทโดยใช้เกณฑ์ต่างๆกัน ดังนี้

4. จำแนกตามสื่อที่จัดเก็บ การจำแนกสารสนเทศตามสื่อที่จัดเก็บหรือสื่อที่ใช้บันทึกความรู้เป็นการจำแนก ตามพัฒนาการของวัตถุที่มนุษย์คิดประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้เขียน หรือบันทึกความรู้ ได้แก่
4.1 กระดาษ
4.2 วัสดุ ย่อส่วน
4.3 สื่อแม่เหล็ก
4.4 สื่อแสงและสื่อออปติค (Optical media)

5. การจัดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
5.1 สารสนเทศภายในหน่วยงาน (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
5.2 สารสนเทศภายนอกหน่วยงาน (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

6. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น

7. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
7.1 สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
7.2 สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
7.3 สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
7.4 สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น

8. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่
8.1 สารสนเทศต้นแบบ (Original information) หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
8.2 สารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information) สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น

9. จำแนกโดยใชสภาพความต้องการเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
9.1 สารสนเทศที่ทำประจำ เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เช่น การทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนแต่ละวัน ทำรายงานเกี่ยวกับรายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน การทำรายงานเกี่ยวกับผู้มาติดต่อหรือตรวจเยี่ยมโรงเรียนในแต่ละเดือน
9.2 สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย ตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ เช่น งบดุลของบริษัทที่ต้องทำขึ้นเพื่อยื่นต่อทางราชการ และใช้ในการเสียภาษี เป็นต้น
9.3 สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ ในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้องทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น รัฐบาลต้องการสร้างเขื่อนเอนกประสงค์ จำเป็นต้องได้ข้อมูลเพื่อสนับสนุนว่าจะสร้างดีหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนสรุปรายงานขึ้นเป็นการเฉพาะที่ทำเป็นครั้งคราวเฉพาะตามโครงการหนึ่งๆ เท่านั้น

supatra said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ
สามารถแบ่งประเภทของสารสนเทศได้ 6 ลักษณะ ดังนี้
1.สารสนเทศที่จำแนกตามที่มาและลำดับการผลิต
1.1) สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources)
1.2) สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources)
1.3) สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources)
2.สารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะทรัพยากร
2.1) ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
2.2) ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources)
2.3) ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)
3.สารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะการแสวงหา
3.1) สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information)
3.2) สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information)
4.สารสนเทศที่จำแนกตามสภาพความต้องการ
4.1) สารสนเทศที่ทำประจำ
4.2) สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมายตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศ
4.3) สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะในการดำเนินงานต่างๆ
5.สารสนเทศที่จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร
5.1) สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information)
5.2) สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information)
6.สารสนเทศที่จำแนกตามการใช้และการถ่ายทอด

Nissawan Changkit said...

สรุปประเภทของสารสนเทศจากการอ่านขัอความที่เพื่อนๆโพส สรุปได้ว่า..

สารสนเทศมีการจำแนกได้หลายประเภท ซึ่งแตกต่างกันตามลักษณะการแบ่ง ดังนี้
**การจำแนกประเภทตามแหล่งสารสนเทศ**
1 แหล่งปฐมภูมิ (primary source) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากแหล่งต้นโดยตรง ผลิตออกมาในลักษณะการเผยแพร่ผลการศึกษา
2 แหล่งทุติยภูมิ (secondary source) เป็นสารสนเทศที่รวบรวม และเรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศที่มีการเผยแพร่แล้ว
3 สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิ (tertiary source) ไม่ให้เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความรู้สาขาวิชาต่างๆ โดยตรงแต่สามารถใช้ประโยชน์ในการค้นหาสารสนเทศที่ให้ความรู้เฉพาะวิชาสาขาได้

**การจำแนกประเภทตามสื่อที่จัดเก็บ**
1 กระดาษ เป็นสื่อบันทึกข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ได้ง่ายและมนุษย์ได้ใช้บันทึกความรู้ ประสบการณ์
2 วัสดุย่อส่วน หรือไมโครฟอร์ม (microform) คือ สื่อบันทึกสารสนเทศที่เป็นแผ่นฟิล์มถ่ายรูปเอกสารย่อส่วนในขนาดต่างๆลงบน ฟิล์ม
สื่อแม่เหล็ก เป็นวัสดุสารสังเคราะห์ที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก สามารถใช้บันทึกและแก้ไขปรับปรุงข้อมูลได้อย่างสะดวก
3 สื่อแสงและสื่อออปติก (optical media) เป็นสื่อที่บันทึกข้อมูลและอ่านข้อมูลโดยใช้แสงเลเซอร์ ข้อมูลที่บันทึกลงสื่อแสงเป็นข้อมูลดิจิทัล

**การจำแนกประเภทตามการแสวงหา**
1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้

2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้

**การจำแนกประเภทตามแหล่งกำเนิด**
1 สารสนเทศภายในหน่วยงาน
2 สารสนเทศภายนอกหน่วยงาน

**การจำแนกประเภทตามรูปแบบการนำเสนอ**
1 ตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข)
2 ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม)
3 โสตทัศนวัสดุ
4 วัสดุย่อส่วน
5 สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น

**การจำแนกประเภทตามสาขาความรู้**
1 สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ
2 สารสนเทศการเมือง
3 กฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค ฯลฯ

สุมลฑา06490099 said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ
การจำแนกประเภทของสารสนเทศมีหลายรูปแบบ ได้แก่
1. แบ่งประเภทของสารสนเทศตามแหล่งที่มา
1.1 แหล่งปฐมภูมิ สารสนเทศที่ได้จากแหล่งต้นโดยตรง
1.2 แหล่งทุติยภูมิ เป็นสารสนเทศที่รวบรวม และเรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศปฐมภูมิ
1.3 แหล่งตติยภูมิ เป็นสารสนเทศที่จัดทำสำหรับใช้ค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ
2. แบ่งประเภทของสารสนเทศตามลักษณะ
2.1 วัสดุไม่ตีพิมพ์
2.2 วัสดุตีพิมพ์
2.3 สื่ออิเล็กทรอนิกส์
3.แบ่งประเภทของสารสนเทศตามสภาพความต้องการ
3.1 สารสนเทศที่ทำประจำ
3.2 สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย
3.3 สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้น โดยเฉพาะ

สุมลฑา06490099 said...

(เพิ่มเติมค่ะ)
4. แบ่งประเภทสารสนเทศตามตามลักษณะวิธีการผลิต
4.1 สารสนเทศต้นแบบ เป็นสารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ
4.2 สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันไป

thida080 said...
This comment has been removed by the author.
thida080 said...
This comment has been removed by the author.
thida080 said...
This comment has been removed by the author.
thida080 said...
This comment has been removed by the author.
thida080 said...
This comment has been removed by the author.
thida080 said...
This comment has been removed by the author.
thida080 said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ

ประเภทของสารสนเทศ แบ่งได้หลายประเภท ดังนี้

1. สารสนเทศจำแนกตามแหล่งสารสนเทศ ซึ่งจำแนกได้เป้น
1.1 แหล่งปฐมภูมิ (primary source)สารสนเทศที่ได้จากแหล่งต้นโดยตรง สารสนเทศจากแหล่งปซมภูมิ จะเผยแพร่ในลักษณะสิ่งพิมพ์ ได้แก่ วารสาร รายงานการวิจัย เป็นต้น
1.2 แหล่งทุติยภูมิ (secondary source)เป็นสารสนเทศที่รวบรวมและเรียบเรียงขึ้นจากสารสนเทศที่มีการเผยแพร่ หรือหมายถึงจากสารสนเทศปฐมภูมิ
1.3 แหล่งตติยภูมิ (tertiary source)เป็นสารสนเทศที่จัดทำในลักษณะรวบรวมขึ้นเพื่อใช้คนหาสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ

2. สารสนเทศตามสื่อที่จัดเก็บ ได้แก่ กระดาษ วัสดุ สื่อแม่เหล็ก และสื่อแสง เป็นต้น

3. สารสนเทศจำแนกตามลักษณะการแสวงหา คือ
3.1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (stored information) 3.2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน

thida080 said...
This comment has been removed by the author.
thida080 said...
This comment has been removed by the author.
thida080 said...

เพิ่มเติมค่ะ

4. การจัดตามแหล่งกำเนิด ได้แก่
4.1 สารสนเทศภายในหน่วยงาน
4.2 สารสนเทศภายนอกหน่วยงาน

5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่
5.1 สารสนเทศต้นแบบ (original information)
5.2 สารสนเทศปรุงแต่ง (consolidated information)

6. การจัดตามการใช้ และการถ่ายทอด ได้แก่
6.1 สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
6.2 สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
6.3 สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
6.4 สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น

จิตเสน076 said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ
การจำแนกประเภทของสารสนเทศมีหลายรูปแบบ ได้แก่

(1) การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
1.1 แหล่งปฐมภูมิ เป็นสารสนเทศที่เป็นผลผลิตเริ่มแรกจากการคิดค้น ยังมิได้ถูกดัดแปลงไปจากรูปแบบดั้งเดิม
1.2 แหล่งทุติยภูมิ เป็นสารสนเทศที่รวบรวม และเรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศปฐมภูมิ
1.3 แหล่งตติยภูมิ เป็นสารสนเทศที่ไม่ให้เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความรู้สาขาวิชาต่างๆโดยตรง แต่จะมีประโยชน์ในการค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิ และทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับความรู้สาขาวิชาต่างๆที่ต้องการ

(2) การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ได้แก่
2.1 วัสดุไม่ตีพิมพ์ ไม่อยู่ในรูปแบบของตัวพิมพ์ แต่จะเน้นสื่อความหมายของข้อมูลที่บรรจุอยู่ได้โดยอาศัยภาพและเสียงเป็นหลัก
2.2 วัสดุตีพิมพ์ เป็นหนังสือ สิ่งพิมพ์ หรือเอกสารรูปแบบต่างๆ
2.3 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่บันทึกสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ หรือดิจิตอล
(3) การจัดตามสาขาความรู้
(4) การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
4.1 สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
4.2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
4.3 สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4.4 สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ
(5) การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต
5.1 สารสนเทศต้นแบบ เป็นสารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ
5.2 สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันไป

nutarat 06500086 said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ
มีทั้งหมด 5 ประเภท ได้แก่
1.สารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะทรัพยากร
2.สารสนเทศที่จำแนกตามสภาพความต้องการ
3.สารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะการแสวงหา
4.สารสนเทศที่จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร
5.สารสนเทศที่จำแนกตามที่มาและลำดับการผลิต

Patthawan said...
This comment has been removed by the author.
Pakathorn 088 said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ แบ่งได้ 4 ประเภท คือ
1.จำแนกตามแหล่งที่มา ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศจากแหล่งภายในองค์การ และสารสนเทศภายนอกองค์การ
2.จำแนกตามลักษณะของสารสนเทศ ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศประเภทแข็ง เช่น ตัวเลข การวิเคราะห์สถิติ หรือข้อความ และสารสนเทศประเภทอ่อนซึ่งเป็นสารสนเทศอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การพบปะพูดคุยกับเพื่อนร่วมงาน
3.จำแนกตามการแปลความหมาย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สารสนเทศเชิงอัตนัย หมายถึง การที่แต่ละบุคคลต่างรับสารสนเทศ และแปลความหมายแตกต่างกันไปตามบริบทของบุคคลนั้น สารสนเทศเชิงปรนัยจะมีความหมายที่แน่นอนคงที่
4.จำแนกตามการใช้งาน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศในการปฏิบัติงาน สารสนเทศในการจัดการ สารสนเทศในงานวิชาชีพ สารสนเทศในงานกลุ่ม และสารสนเทศเชิงประวัติศาสตร์

Unknown said...
This comment has been removed by the author.
Unknown said...

จากการศึกษาประเภทของสารสนเทศ สามารถสรุปได้ว่ามีทั้งหมด 8 ประเภท ดังนี้


1-จำแนกตามคุณภาพ-
โดยพิจารณาสาระหรือประโยชน์
1.สารสนเทศแข็ง เช่น ข้อเท็จจริง สถิติ ตัวเลข และการวิเคราะห์
2.สารสนเทศอ่อน เช่น ความคิดเห็น สามัญสำนึก ความรู้ทั่วไปที่นำเสนอโดยไม่เป็นวิชาการ

2-การจัดตามแหล่งเกิด-
1.สารสนเทศภายในหน่วยงาน
2.สารสนเทศนอกหน่วยงาน

3-การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอ-
1.คำพูด การสนทนา
2.ข้อความตีพิมพ์
3.ภาพวาด
4.โสตทัศนวัสดุ
5.วัสดุย่อส่วน
6.สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

4-การจัดตามสาขาความรู้-
1.สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ
2.สารสนเทศการเมือง
3.กฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค ฯลฯ

5-การจัดตามความต้องการนำไปใช้ขององค์การนั้น-

6-การจัดตามการใช้และถ่ายทอด-
1.สารสนเทศ know – why เน้นวิชาการ
2.สารสนเทศ know – how เน้นเทคนิคมากขึ้น
3.สารสนเทศ show – how เน้นการปฏิบัติ
4.สารสนเทศ know – who เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ

7-การจัดตามความต้องการสนเทศในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา-
1.สารสนเทศเพื่อการพัฒนาในระยะเริ่มแรก
2.สารสนเทศเพื่ออุตสาหกรรมในระยะก้าวหน้า

8-การจัดตามลักษณะวิธีการผลิตและการจัดทำ-
1.สารสนเทศต้นแบบ ได้แก่ สารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ
2.สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นใหม่ให้เหมาะและมีคุณค่าต่อผู้ใช้ บางครั้งเรียกว่า สารสนเทศตติยภูมิ

Unknown said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ
1. สารสนเทศจำแนกตามสื่อที่จัดเก็บ การจำแนกสารสนเทศตามสื่อที่จัดเก็บหรือสื่อที่ใช้บันทึกความรู้เป็นการจำแนกตามพัฒนาการของวัตถุที่มนุษย์คิดประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้เขียน หรือบันทึกความรู้
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่าง
ๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์
2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials)
2.การจำแนกประเภทตามแหล่งสารสนเทศ หมายถึง การจำแนกสารสนเทศตามการรวบรวมหรือจัดทำสารสนเทศ
2.1. แหล่งปฐมภูมิ (primary source)
2.2. แหล่งทุติยภูมิ (secondary source
2.3. สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิ (tertiary source)
3.ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน
4.ประเภทการจัดตามแหล่งกำเนิด
- สารสนเทศภายในหน่วยงาน
- สารสนเทศภายนอกหน่วยงาน

5. ประเภทการจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
6. ประเภทการจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ
7.ประเภทสารสนเทศที่แบ่งออกตามสภาพความต้องการ
1. สารสนเทศที่ทำประจำ เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ
2. สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย ตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ
3. สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ ในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้องทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ

Nunthawun said...

จากการศึกษาสามารถสรุปประเภทของสารสนเทศได้ 7 ลักษณะ ดังนี้

1.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะทรัพยากร
1.1 ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
1.2 ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources)
1.3 ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)

2.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะการแสวงหา
2.1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information)
2.2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information)

3.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามสภาพความต้องการ
3.1 สารสนเทศที่ทำประจำ
3.2 สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมายตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศ
3.3 สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะในการดำเนินงานต่างๆ

4.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร
4.1 สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information)
4.2 สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information)

5.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามที่มาและลำดับการผลิต
5.1 สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources)
5.2 สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources)
5.3 สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources)

6.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการจัดตามสาขาความรู้

7.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการใช้และการถ่ายทอด

ampa klinpayom said...

สรุปประเภทของสารสนเทศ
จากการศึกษา สารสนเทศสามารถจำแนกได้หลายรูปแบบดังนี้


1. สารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะทรัพยากร
- ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
- ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed
Resources)
- ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)

2. สารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะการแสวงหา
- สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information)
- สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information)

3. สารสนเทศที่จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร
- สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information)
- สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information)

4. สารสนเทศที่จำแนกตามสภาพความต้องการ
- สารสนเทศที่ทำประจำ
- สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมายตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศ
- สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะในการดำเนินงานต่างๆ


5.สารสนเทศที่จำแนกตามที่มาและลำดับการผลิต
- สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources)
- สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources)
- สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources)

6.สารสนเทศที่จำแนกตามการจัดสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น


7.สารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่
- สารสนเทศต้นแบบ (Original information) เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
- สารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information) ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น


8.สารสนเทศที่จำแนกตามการใช้และการถ่ายทอด
- สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
- สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
- สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
- สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ

Sathaporn said...

จากการศึกษา สารสนเทศสามารถแบ่งตามประเภทได้ ดังนี้
1. สื่อสิ่งพิมพ์ คือ หนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ชนิดต่างๆอาจแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ
- ต้นฉบับตัวเขียนและจดหมายเหตุ
- หนังสือ
- สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
- จุลสาร
- กฤตภาค
2. สื่อไม่ตีพิมพ์ คือ สื่อที่บันทึกความรู้ ข่าวสาร สารสนเทศ ในรูปแบบอื่นที่นอกเหนือจากหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ อาจแบ่งได้ ดังนี้
- วัสดุกราฟฟิก
- วัสดุแผนที่
- วัสดุบันทึกเสียง
- สื่อโสตทัศน์ที่ให้ทั้งภาพและเสียง
- วัสดุสามมิติและของจริง
- วัสดุย่อส่วน
- สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

Unknown said...

จากการศึกษาประเภทของสารสนเทศและจากการอ่านข้อความของเพื่อนๆประกอบนั้นเห็นได้ว่ามีการแบ่งไว้หลายรูปแบบอาจแบ่งได้หลายรูปแบบ ดังนี้

รูปแบบที่1 การแบ่งสารสนเทศตามการรวบรวม แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
1)สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources)
2)สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources)
3)สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources)

รุปแบบที่2 การแบ่งสารสนเทศจำแนกตามสื่อจัดเก็บ เช่น - กระดาษ
- วัสดุย่อส่วน
- แม่เหล็ก เป็นต้น

รูปแบบที่3 แบ่งตามลักษณะการแสวงหา
1)สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ(static หรือ stored information)
2)สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information)

รูปแบบที่4 แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1)สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เช่น หนังสือ วารสาร เป็นต้น
2)สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials)เช่น โสตวัสดุ เป็นต้น

รูปแบบที่5 ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะทรัพยากร
** (คล้ายๆกับรูปแบบที่4)
1)ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
2)ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources)
3)ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)

Unknown said...
This comment has been removed by the author.
Unknown said...

จากการศึกษา สรุปประเภทของสารสนเทศ
จำแนกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่
1. สารสนเทศตีพิมพ์ เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้แก่
หนังสือ , วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ , จุลสาร กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ
2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้ โสตวัสดุ (Audio material), ทัศนวัสดุ (Visual materials) ,
โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials)
วัสดุย่อส่วน , วัสดุอิเล็กทรอนิกส์

sumate100 said...

จากกระทู้ที่เพื่อนๆ ได้แสดงผลการสืบค้นข้อมูลประเภทของสารสนเทศ พอจะสรุปโดยใช้เกณฑ์ที่ต่างกันได้ดังต่อไปนี้
- ใช้รูปแบบการนำเสนอเป็นเกณฑ์ จำแนกได้เป็น 3 ประเภท คือ
สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials)
สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials)
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)
- จำแนกโดยใช้ลักษณะการแสวงหาเป็นเกณฑ์ จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information)
- จำแนกตามแหล่งสารสนเทศ
แหล่งปฐมภูมิ (primary source)
แหล่งทุติยภูมิ (secondary source)
สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิ (tertiary source)
- จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
สารสนเทศภายในหน่วยงาน (Internal information)
สารสนเทศภายนอกหน่วยงาน (Eternal information)
- การจำแนกตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ
- การจำแนกตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่
สารสนเทศต้นแบบ (Original information)
สารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
- การจำแนกโดยใช้สภาพความต้องการเป็นเกณฑ์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
สารสนเทศที่ทำเป็นประจำ
สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย
สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ

Mr.Excel said...

Categories of Information.
Information can be classified in several categories following the text below.

1. Presentation format: can be classified into three types.
1.1 Printed materials
1.2 Non-printed materials
1.3 Electronic Resources
2. Seeking: can be classified into two types.
2.1 Static or Stored information
2.2 Dynamic information or Active information or Operative information
3. Source of information: can be classified into two types.
3.1 Primary sources
3.2 Secondary sources
3.3 Tertiary source
4. Corporate sources: can be divided into two types.
4.1Internal information
4.2 Eternal information
5. Branch of knowledge: can be divided into several types based on the user.
5.1Business and economic information
5.2 Political and legal science and technical information.
5.3 Etc.
6. Transfer: can be divided into four types.
6.1 Information know – why
6.2 Information know – how
6.3 Information show – how
6.4 Information know – who
7. Production methods: can be divided into two types.
7.1 Original information
7.2 Consolidated information
8. Need condition: can be divided into three types.
8.1 Information on a regular basis.
8.2 Information that must follow the law.
8.3 Information that has been assigned to provide a more specific of operations.
9. Status: can be divided into two types.
9.1 formal Information
9.2 Informal Information

Usuma said...

ประเภทของสารสนเทศสามารถสรุปได้ 7 ลักษณะ ดังนี้

1.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะทรัพยากร
2.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามลักษณะการแสวงหา
3.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามสภาพความต้องการ
4.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร
5.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามที่มาและลำดับการผลิต
6.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการจัดตามสาขาความรู้
7.ประเภทของสารสนเทศที่จำแนกตามการใช้และการถ่ายทอด

ittipat said...

จากการศึกษาแล้ว สารสนเทศสามารถจำแนกได้ 3 ประเภทใหญ่ๆดังนี้
....1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆบนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น หนังสือ หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค
....2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆโดยมีการจัดเก็บลงในวัสดุประเภทต่างๆ เช่น โสตวัสดุ ทัศนวัสดุ โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วนวัสดุอิเล็กทรอนิกส์
......3. สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources) เป็นสารสนเทศที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการบันทึก อ่านหรือฟัง ลักษณะ เป็นสารสนเทศในรูปดิจิตอล

Patthawan said...

สรุปประเภทของสารสนเทศจากโพสต์ของเพื่อนๆ เอกสังคมศึกษาทุกคนค่ะ

เมื่อสรุปแล้ว สามารถจำแนกประเภทของสารสนเทศได้ออกเป็น 7 ประเภท
1. ประเภทที่จำแนกโดยใช้รูปแบบการนำเสนอเป็นเกณฑ์
2. ประเภทที่จำแนกโดยใช้ลักษณะการแสวงหาเป็นเกณฑ์
3. ประเภทที่จำแนกตามแหล่งสารสนเทศ
4. ประเภทที่จำแนกตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กร
5. ประเภทที่การจำแนกตามการใช้และการถ่ายทอด
6. ประเภทที่การจำแนกตามลักษณะวิธีการผลิต
7. ประเภทที่การจำแนกโดยใช้สภาพความต้องการเป็นเกณฑ์