Monday, November 1, 2010

ครั้ง 1/ 2 ประเภทของสารสนเทศ

ให้ค้นคว้าจากเอกสาร/ตำรา ไม่เกิน 2 ปี พร้อมอ้างอิง จำนวน 3 เล่ม และ 1-2 เว็บไซต์ แล้วนำมาpost ไว้ ก่อน 24.00น.ของวันเสาร์ทั้งสองหัวข้อ

94 comments:

Nissawan Changkit said...

เว็ปไซด์ 1
ประเภทของสารสนเทศ
จำแนกได้ 2 ประเภท (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543, หน้า 12-13)
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่าง
ๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็น
1.1 หนังสือ แบ่งเป็น
- หนังสือสารคดี (Nonfiction books) ประกอบด้วย หนังสือตำราวิชาการ หนังสืออ่าน
ประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสืออ้างอิง ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ คู่มือสถาบัน
- หนังสือบันเทิงคดี (Fiction) ได้แก่ หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเรื่องสั้น หนังสือสำหรับ
เด็กและเยาวชน
1.2 วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ ราย
ปักษ์ รายเดือน
1.3 จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
1.4 กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัด
แปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน

2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
2.1 โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ
ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ
ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้
จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
2.4 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาด
เล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
2.5 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม
แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์-อิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูล
ที่มาเว็ปรอง http://www.uthai.ru.ac.th/km_ut/images/stories/pdf_file/Information%20research.pdf
ที่มาเว็ปหลัก http://www.uthai.ru.ac.th/

เว็ปไซด์ 2
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้

2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
ที่มาเว็ปไซด์รอง http://www.skb.ac.th/~skb/computor/nectec/0121.html
ที่มาเว็ปไซด์หลัก http://www.skb.ac.th

Nunthawun said...

ประเภทของสารสนเทศ
การจำแนกประเภทสารสนเทศที่สถานบันบริการสารสนเทศจัดหาเข้าไว้ในสถาบันและจัดเก็บเพื่อให้บริการมีวิธีจำแนกได้หลายแบบ ที่เป็นที่นิยมคือ การจำแนกประเภทตามแหล่งสารสนเทศและตามประเภทของสื่อบันทึกสารสนเทศ
1.1 สารสนเทศจำแนกตามแหล่งสารสนเทศ หมายถึง การจำแนกสารสนเทศตามการรวบรวมหรือจัดทำสารสนเทศ ซึ่งจำแนกได้เป็นแหล่งปฐมภูมิ และแหล่งตติยภูมิ
1.1.1 แหล่งปฐมภูมิ (primary source) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากแหล่งต้นโดยตรง เป็นสารสนเทศทางวิชาการที่เกี่ยวกับความคิดริเริ่มซึ่งผลิตออกมาในลักษณะการเผยแพร่ผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย การค้นพบทฤษฎีใหม่ให้นักศึกษา นักวิชาการ และนักวิจัยในวิชาชีพร่วมสาขาได้ศึกษา วิพากษ์วิจารณ์และอาจใช้เป็นแนวทางเพื่อการศึกษา ค้นคว้าและทำวิจัยต่อไป การศึกษา ค้นคว้า วิจัยทฤษฎีใหม่มักเผยแพร่ออกสู่สาธารณชนเพื่อให้นักวิชาการในวิชาชีพเดียวกันได้ศึกษาและวิพากษ์วิจารณ์เพื่อนำไปสู่การยอมรับเป็นทฤษฎีใหม่ที่เชื่อถือได้หรือไม่
สารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิ ซึ่งเผยแพร่ในลักษณะสิ่งพิมพ์ ได้แก่ วารสาร รายงานการวิจัย รายงานการประชุมและสัมมนาทางวิชาการ สิทธิบัตร เอกสารมาตรฐานต่างๆ ต้นฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ และวิทยานิพนธ์ และเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น สารสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
1.1.2 แหล่งทุติยภูมิ (secondary source) เป็นสารสนเทศที่รวบรวม และเรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศที่มีการเผยแพร่แล้วหรือหมายถึง จากสารสนเทศปฐมภูมิ ลักษณะการรวบรวมและเรียบเรียงอาจจัดทำโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น รวบรวม สรุป ย่อเรื่อง จัดหมวดหมู่ ทำดรรชนีและสาระสังเขป ทั้งนี้มีลักษณะการเรียบเรียงเพื่อให้ใช้ข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว เข้าใจได้ง่ายขึ้น สารสนเทศประเภทแหล่งทุติยภูมิ ได้แก่ สื่ออ้างอิงประเภทต่างๆ สารสารที่มีการสรุปย่อและตีความ รวมทั้งหนังสือตำราที่จัดทำโดยรวบรวมเนื้อหาวิชาการสาขาต่างๆเพื่อการเรียนการสอน
สำหรับสื่ออ้างอิงประเภทสารสนเทศทุติยภูมิเป็นสื่ออ้างอิงที่รวบรวมข้อมูล สารสนเทศประเภทต่างๆ ที่ให้เนื้อหาความรู้ สถิติ รวมทั้งสารสนเทศในรูปเนื้อหาโดยย่อ และอาจรวมการตีความด้วย ได้แก่ สารานุกรม พจนานุกรม หนังสือรายงานสถิติต่างๆ ดรรชนีวารสารและสาระสังเขป
1.1.3 สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิ (tertiary source) เป็นสารสนเทศที่จัดทำในลักษณะรวบรวมขึ้นเพื่อใช้ค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิไม่ให้เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความรู้สาขาวิชาต่างๆโดยตรงแต่สามารถใช้ประโยชน์ในการค้นหาสารสนเทศที่ให้ความรู้เฉพาะวิชาสาขาได้ สารสนเทศประเภทนี้ ได้แก่ บรรณานุกรม นามานุกรม หนังสือแนะนำวรรณกรรมเฉพาะสาขาวิชาและบรรณนิทัศน์
สารสนเทศประเภทแหล่งตติยภูมิมีลักษณะการจัดทำที่คล้ายกับสารสนเทศทุติยภูมิ ดังนั้นในตำราบางเล่มจึงจัดสารสนเทศตติยภูมิรวมไว้เป็นประเภททุติยภูมิ และสารสนเทศทั้งสองแบบนี้ปัจจุบันมีการจัดทำบันทึกข้อมูลไว้ในสื่อคอมพิวเตอร์ออกเผยแพร่อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะสารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม บรรณานุกรม และดรรชนีวารสารและสาระสังเขป ซึ่งจัดเก็บข้อมูลไว้ในซีดี-รอมและฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ให้บริการทางออนไลน์

Nunthawun said...

(ต่อ)ประเภทของสารสนเทศ
1.2 สารสนเทศจำแนกตามสื่อที่จัดเก็บ การจำแนกสารสนเทศตามสื่อที่จัดเก็บหรือสื่อที่ใช้บันทึกความรู้เป็นการจำแนกตามพัฒนาการของวัตถุที่มนุษย์คิดประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้เขียน หรือบันทึกความรู้ ได้แก่ กระดาษ วัสดุ ย่อส่วน สื่อแม่เหล็ก และสื่อแสง
1.2.1 กระดาษ เป็นสื่อบันทึกข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ได้ง่ายและมนุษย์ได้ใช้บันทึกความรู้ ประสบการณ์จนกระทั่งเป็นความคุ้นเคยของมนุษย์ในการขีดเขียน การพิมพ์เรื่องราวต่างๆ ความรู้เพื่อเผยแพร่ในสังคมมายาวนาน สิ่งพิมพ์ในลักษณะกระดาษได้แก่ วารสาร หนังสือ เอกสารต่างๆ แบบฟอร์มที่ใช้กันในสำนักงาน
1.2.2 วัสดุย่อส่วน หรือไมโครฟอร์ม (microform) คือ สื่อบันทึกสารสนเทศที่เป็นแผ่นฟิล์มถ่ายรูปเอกสารย่อส่วนในขนาดต่างๆลงบนฟิล์ม ประเภทฟิล์มม้วนเรียกว่า ไมโครฟิล์ม (microfilm) และฟิล์มแผ่นเรียกว่า ไมโครฟิช (microfiche) การถ่ายรูปเนื้อหาเอกสารบนฟิล์มจะเรียงตามลำดับเนื้อหาตามต้นฉบับ วัสดุย่อส่วนใช้จัดเก็บสำเนาต้นฉบับทั้งที่เป็นวารสาร เอกสารจดหมายเหตุ เอกสารสำคัญ วิทยานิพนธ์ เป็นต้น
1.2.3 สื่อแม่เหล็ก เป็นวัสดุสารสังเคราะห์ที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก สามารถใช้บันทึกและแก้ไขปรับปรุงข้อมูลได้อย่างสะดวก การใช้สื่อแม่เหล็กเป็นที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางและจัดเก็บข้อมูลทั้งที่เป็นแอนะล็อกและดิจิทัล สื่อแม่เหล็กที่จัดเก็บข้อมูลดิจิทัล เช่น เทปแม่เหล็ก อาร์ดดิสก์ และดิสเก็ตต์ ในปัจจุบันสื่อเหล่านี้ได้รับการพัฒนาให้บรรจุข้อมูลได้ปริมามากและปรับแก้ไขข้อมูลได้สะดวก
1.2.4 สื่อแสงและสื่อออปติก (optical media) เป็นสื่อที่บันทึกข้อมูลและอ่านข้อมูลโดยใช้แสงเลเซอร์ ข้อมูลที่บันทึกลงสื่อแสงเป็นข้อมูลดิจิทัล สื่อแสงแบ่งประเภทเป็นสื่อที่อ่านได้เพียงอย่างเดียว เช่น ซีดี-รอม (Computer Disk-Read Only Memory) และดีวีดี (Digital Versatile Disk-DVD) มีความจุมากกว่านิยมใช้บันทึกภาพยนตร์

ที่มา : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปะศาสตร์ .เอกสารการสอนชุดวิชาสารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น .โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ,2545

KannikA 072 =) said...

จากเว็บไซต์

สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้

2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา : http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm เข้าถึงเมื่อวันพฤหัสบดี ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 เวลา 20.23 น.

Wanlaya said...

ประเภทของสารสนเทศ

เล่มที่ 1
สารสนเทศ แบ่งตามลักษณะได้ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
ทรัพยากรตีพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ตีพิมพ์เป็นขนาดต่าง ๆ กัน และมีหลากหลายรูปแบบเช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์อื่น ๆ เช่น จุลสาร และ กฤตภาค เป็นต้น
- หนังสือเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึกเรียบเรียงเรื่องราว เหตุการณ์วิชาความรู้ ประสบการณ์และความคิดต่าง ๆ
- วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่อง (Serial) มีกำหนดออกที่แน่นอน เป็นรายสัปดาห์ (Week) รายปักษ์ (Bi-week) รายเดือน (Monthly) หรือ รายสองเดือน (Bi-monthly) เป็นต้น
- หนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่อง (Serial) มีกำหนดออกที่แน่นอน ส่วนใหญ่ออกเป็นรายวัน แต่ไม่มีการเย็บเล่มเหมือนวารสาร
- จุลสาร เป็นสิงพิมพ์ขนาดเล็กที่มีเนื้อหาสาระเฉพาะด้าน มักจะเป็นเรื่องที่มีความสำคัญหรือเป็นที่สนใจในระยะหนึ่งๆ จบในเล่ม
- กฤตภาค เป็นสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้น โดยนำข้อมูลเรื่องราว สาระสำคัญจากหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือแผ่นพับ นำมาตัด แล้วผนึกลงบนกระดาษ
2. ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources)
ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ เป็นวัสดุหรือสื่อที่ให้สาระความรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา โดยการดูและการฟัง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
2.1 โสตทัศนวัสดุ หมายถึง วัสดุหรือสื่อที่ให้สาระความรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา เป็นภาพหรือเสียงมากกว่าตัวอักษร ทำให้การสื่อความหมาย เข้าใจได้อย่างรวดเร็วและเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้องผู้ใช้สามารถจดจำและเข้าใจเรื่องที่ต้องการศึกษาได้ง่ายกว่าการอ่านหนังสือ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้สูงขึ้นด้วย
2.2 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุไม่ตีพิมพ์ประเภทหนึ่ง ที่เกิดจากการถ่ายภาพย่อส่วนของสิ่งพิมพ์ต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์มหรือกระดาษทึบแสงให้มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถอ่านด้วยตาเปล่าได้ ข้อมูลที่บันทึงลงในไมโครฟิล์มไม่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้
3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นทรัพยากรที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยในการบันทึก อ่านหรือฟัง ลักษณะ เป็นทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิตอล ซึ่งสามารถบันทึกสารสนเทศได้ทั้งที่เป็น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว โดยเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ อย่างหลากหลายคล้ายทรัพยากรสิ่งพิมพ์ อาทิ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e–book) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e–journal) หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ สารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ แลโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นต้น

ที่มา: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. (2549). เอกสาร ประกอบการสอนวิชา 412402 ห้องสมุดและวิธีค้นคว้า. ขอนแก่น : ภาควิชา.

Wanlaya said...

ประเภทของสารสนเทศ

เล่มที่ 2
มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้ (ประภาวดี สืบสนธ์. 2543. 13-15)
1. การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น

ที่มา: ประภาวดี สืบสนธ์. (2543). สารสนเทศในบริบทสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย


เล่มที่ 3
ชุมพล ศฤงคารศิริ ได้แบ่งประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กรได้ 2 ประเภท คือ
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา: ชุมพล ศฤงคารศิริ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

Wanlaya said...

ประเภทของสารสนเทศ

เว็บไซต์ที่ 1
สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา: http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm เว็บไซต์หลัก http://school.obec.go.th เข้าถึงเมื่อ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2553

เว็บไซต์ที่ 2
ประเภทสารสนเทศที่แบ่งออกตามสภาพความต้องการ
1. สารสนเทศที่ทำประจำ เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เช่น การทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนแต่ละวัน ทำรายงานเกี่ยวกับรายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน การทำรายงานเกี่ยวกับผู้มาติดต่อหรือตรวจเยี่ยมโรงเรียนในแต่ละเดือน
2. สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย ตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ เช่น งบดุลของบริษัทที่ต้องทำขึ้นเพื่อยื่นต่อทางราชการ และใช้ในการเสียภาษี เป็นต้น
3. สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ ในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้องทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น รัฐบาลต้องการสร้างเขื่อนเอนกประสงค์ จำเป็นต้องได้ข้อมูลเพื่อสนับสนุนว่าจะสร้างดีหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนสรุปรายงานขึ้นเป็นการเฉพาะที่ทำเป็นครั้งคราวเฉพาะตามโครงการหนึ่งๆเท่านั้น

ที่มา: http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_3.htm# เว็บไซต์หลัก http://www.thaigoodview.com เข้าถึงเมื่อ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2553

supatra said...

ประเภทของสารสนเทศ
เว็บไซต์ที่ 1
สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้

2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
ที่มา : http://www.nkedu1.go.th/km/modules.php?name=News&file=article&sid=376
เว็บไซต์หลัก http://www.nkedu1.go.th/km/
เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 พ.ย. 2553

Nunthawun said...

(ต่อ) ประเภทของสารสนเทศ : เล่มที่ 2
สารสนเทศ แบ่งตามลักษณะได้ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
ทรัพยากรตีพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ตีพิมพ์เป็นขนาดต่าง ๆ กัน และมีหลากหลายรูปแบบเช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์อื่น ๆ เช่น จุลสาร และ กฤตภาค เป็นต้น
- หนังสือเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึกเรียบเรียงเรื่องราว เหตุการณ์วิชาความรู้ ประสบการณ์และความคิดต่าง ๆ
- วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่อง (Serial) มีกำหนดออกที่แน่นอน เป็นรายสัปดาห์ (Week) รายปักษ์ (Bi-week) รายเดือน (Monthly) หรือ รายสองเดือน (Bi-monthly) เป็นต้น
- หนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่อง (Serial) มีกำหนดออกที่แน่นอน ส่วนใหญ่ออกเป็นรายวัน แต่ไม่มีการเย็บเล่มเหมือนวารสาร
- จุลสาร เป็นสิงพิมพ์ขนาดเล็กที่มีเนื้อหาสาระเฉพาะด้าน มักจะเป็นเรื่องที่มีความสำคัญหรือเป็นที่สนใจในระยะหนึ่งๆ จบในเล่ม
- กฤตภาค เป็นสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้น โดยนำข้อมูลเรื่องราว สาระสำคัญจากหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือแผ่นพับ นำมาตัด แล้วผนึกลงบนกระดาษ
2. ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources)
ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ เป็นวัสดุหรือสื่อที่ให้สาระความรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา โดยการดูและการฟัง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
2.1 โสตทัศนวัสดุ หมายถึง วัสดุหรือสื่อที่ให้สาระความรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา เป็นภาพหรือเสียงมากกว่าตัวอักษร ทำให้การสื่อความหมาย เข้าใจได้อย่างรวดเร็วและเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้องผู้ใช้สามารถจดจำและเข้าใจเรื่องที่ต้องการศึกษาได้ง่ายกว่าการอ่านหนังสือ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้สูงขึ้นด้วย
2.2 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุไม่ตีพิมพ์ประเภทหนึ่ง ที่เกิดจากการถ่ายภาพย่อส่วนของสิ่งพิมพ์ต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์มหรือกระดาษทึบแสงให้มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถอ่านด้วยตาเปล่าได้ ข้อมูลที่บันทึงลงในไมโครฟิล์มไม่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้
3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นทรัพยากรที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยในการบันทึก อ่านหรือฟัง ลักษณะ เป็นทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิตอล ซึ่งสามารถบันทึกสารสนเทศได้ทั้งที่เป็น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว โดยเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ อย่างหลากหลายคล้ายทรัพยากรสิ่งพิมพ์ อาทิ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e–book) วารสารอิเล็กทรอนิกส์
(e–journal) หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ สารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ แลโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นต้น

ที่มา: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. (2549). เอกสาร ประกอบการสอนวิชา 412402 ห้องสมุดและวิธีค้นคว้า. ขอนแก่น : ภาควิชา.

Nunthawun said...

(ต่อ) ประเภทของสารสนเทศ : เล่มที่ 3
มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้
1. การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น

ที่มา: ประภาวดี สืบสนธ์. สารสนเทศในบริบทสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. 2543

Nunthawun said...

ประเภทของสารสนเทศ
เว็บไซต์ที่ 1
สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา: http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm เว็บไซต์หลัก http://school.obec.go.th เข้าถึงเมื่อ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2553

เว็ปไซต์ที่ 2
จำแนกได้ 2 ประเภท (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543, หน้า 12-13)
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็น
1.1 หนังสือ แบ่งเป็น
- หนังสือสารคดี (Nonfiction books) ประกอบด้วย หนังสือตำราวิชาการ หนังสืออ่าน
ประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสืออ้างอิง ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ คู่มือสถาบัน
- หนังสือบันเทิงคดี (Fiction) ได้แก่ หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเรื่องสั้น หนังสือสำหรับ
เด็กและเยาวชน
1.2 วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ ราย
ปักษ์ รายเดือน
1.3 จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
1.4 กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัด
แปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
2.1 โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ
ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ
ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้
จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
2.4 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาด
เล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
2.5 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม
แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์-อิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูล
ที่มา : http://www.uthai.ru.ac.th/km_ut/images/stories/pdf_file/Information%20research.pdf
เว็ปหลัก http://www.uthai.ru.ac.th/ เข้าถึงเมื่อ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2553

supatra said...

เพิ่มเติม
เว็ปไซด์ที่ 2
ประเภทของสารสนเทศจำแนกได้ 2 ประเภท (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543, หน้า 12-13)
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่าง
ๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็น
1.1 หนังสือ แบ่งเป็น
- หนังสือสารคดี (Nonfiction books) ประกอบด้วย หนังสือตำราวิชาการ หนังสืออ่าน
ประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสืออ้างอิง ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ คู่มือสถาบัน
- หนังสือบันเทิงคดี (Fiction) ได้แก่ หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเรื่องสั้น หนังสือสำหรับ
เด็กและเยาวชน
1.2 วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ ราย
ปักษ์ รายเดือน
1.3 จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
1.4 กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัด
แปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน

2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
2.1 โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ
ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ
ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้
จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
2.4 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาด
เล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
2.5 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม
แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์-อิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูล
ที่มา : http://www.uthai.ru.ac.th/km_ut/images/stories/pdf_file/Information%20research.pdf
เว็ปไซต์หลัก http://www.uthai.ru.ac.th/
เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 พ.ย. 2553

chuanpit said...

ประเภทของสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลจากหนังสือ
1.ประเภทของสารสนเทศ
ชมพร ศฤงคารศิริ ได้แบ่งประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์การได้ 2 ประเภท คือ
1.1สารสนเทศภายในองค์การ (Internal Information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการโต้ตอบและแฟ้มการติดต่อ การควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
1.2สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal Information) เป็นสาสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา : ชุมพล ศฤงคารศิริ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

2. ประเภทของสารสนเทศ
ปัจจุบันสารสนเทศมีปรากฏอยู่มากมายทั้งนี้เพราะมีสารสนเทศใหม่ๆเกิดขึ้นตลอดเวลา อย่างไรก็ตามได้มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้ (ประภาวดี สืบสนธ์. 2543. 13-15)
2.1 การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2.2 การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
2.3 การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
2.4 การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1) สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2) สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3) สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4) สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
2.5 การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)

ที่มา : ประภาวดี สืบสนธ์.สารสนเทศในบริบทสังคม.กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 2543.
3.ประเภทของสารสนเทศ
จำแนกได้ 2 ประเภท (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)
3.1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่าง
ๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็น
1)หนังสือ แบ่งเป็น
- หนังสือสารคดี (Nonfiction books) ประกอบด้วย หนังสือตำราวิชาการ หนังสืออ่าน
ประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสืออ้างอิง ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ คู่มือสถาบัน
- หนังสือบันเทิงคดี (Fiction) ได้แก่ หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเรื่องสั้น หนังสือสำหรับ
เด็กและเยาวชน
2) วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ ราย
ปักษ์ รายเดือน
3) จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
4) กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัด
แปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
3.2 สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
1) โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ
ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2) ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ
ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
3) โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้
จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
4) วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาด
เล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
5) วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม
แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์-อิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูล
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น

ที่มา : พรณิชา ชาตะพันธุ์. การใช้สารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตยานนาวา.สารนิพนธ์การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2549.

chuanpit said...
This comment has been removed by the author.
chuanpit said...

การสืบค้นจากเว็ปไซต์
1.สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1.1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
1.2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา: http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm เข้าถึงเมื่อ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2553

2.ประเภทสารสนเทศที่แบ่งออกตามสภาพความต้องการ
2.1สารสนเทศที่ทำประจำ เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เช่น การทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนแต่ละวัน ทำรายงานเกี่ยวกับ รายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน การทำรายงานเกี่ยวกับผู้มาติดต่อ หรือตรวจเยี่ยมโรงเรียนในแต่ละเดือน
2.2สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมายตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ เช่นงบดุลของบริษัทที่ต้องทำขึ้น เพื่อยื่นต่อทางราชการ และใช้ในการเสียภาษี เป็นต้น
2.3 สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้อง ทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่นรัฐบาลต้องการสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ จำเป็นต้องได้ข้อมูล เพื่อสนับสนุนว่าจะสร้างดีหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อสรุป รายงานขึ้นเป็นการเฉพาะ แล้วนำสารสนเทศนั้นมาพิจารณาถึงข้อดีข้อเสีย เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ การดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศ เหล่านี้จึงเป็นงานเฉพาะที่ทำเป็นครั้งคราว เฉพาะตามโครงการหนึ่งๆ เท่านั้น

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_3.htm# เข้าถึงเมื่อ วันที่ 5 พฤศจิกายน 2553

manatsarin089 said...

ประเภทของสารสนเทศ
จากการค้นคว้าจากในหนังสือ วารสาร งานวิจัยและเว็บไซต์ พบว่าประเภทของสารสนเทศมีดังนี้

เล่มที่ 1
ชุมพล ศฤงคารศิริ ได้แบ่งประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กรได้ 2 ประเภท คือ
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา: ชุมพล ศฤงคารศิริ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

เล่มที่ 2
มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้
1. การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น

ที่มา: ประภาวดี สืบสนธ์. สารสนเทศในบริบทสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. 2543

เล่มที่ 3
สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น
แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติยภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ
ที่มา : ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ระบบการสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System ).กรุงเทพมหานคร : เอส แอน จี กราฟฟิก, 2545.

manatsarin089 said...

เว็บไซต์ที่ 1
สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา:
เว็ปรอง
http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm
เว็บหลัก http://school.obec.go.th
เข้าถึงเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2553 เวลา 16.00 น.

เว็ปไซด์ 2
ประเภทของสารสนเทศ
จำแนกได้ 2 ประเภท (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543, หน้า 12-13)
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่าง ๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็น
1.1 หนังสือ แบ่งเป็น
- หนังสือสารคดี (Nonfiction books) ประกอบด้วย หนังสือตำราวิชาการ หนังสืออ่าน ประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสืออ้างอิง ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ คู่มือสถาบัน
- หนังสือบันเทิงคดี (Fiction) ได้แก่ หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเรื่องสั้น หนังสือสำหรับเด็กและเยาวชน
1.2 วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน
1.3 จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
1.4 กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัดแปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน

2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
2.1 โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้ จากการดูและ การฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
2.4 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาดเล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
2.5 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม แผ่นวีดิทัศน์ ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์-อิเล็กทรอนิกส์ฐานข้อมูล

ที่มา :
เว็ปรอง
http://www.uthai.ru.ac.th/km_ut/images/stories/pdf_file/Information%20research.pdf
เว็ปหลัก
http://www.uthai.ru.ac.th/ เข้าถึงเมื่อ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2553 เวลา 16.20 น.

Nitiwat06490083 said...

ประเภทของสารสนเทศ จาก Website ที่ 2
สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
เว็บหลัก http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/e_learn.html
เว็บรอง http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/computer.html
โรงเรียนพะเยาประสาธน์วิทย์ เข้าเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2553

supatra said...

ประเภทของสารสนเทศ (การค้นคว้าจากหนังสือ)
เล่มที่ 1
สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติยภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ

ที่มา : ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ระบบการสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System ).กรุงเทพมหานคร : เอส แอน จี กราฟฟิก, 2545.

เล่มที่ 2
ชุมพล ศฤงคารศิริ ได้แบ่งประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กรได้ 2 ประเภท คือ
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา: ชุมพล ศฤงคารศิริ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

เล่มที่ 3
ปัจจุบันสารสนเทศมีปรากฏอยู่มากมายทั้งนี้เพราะมีสารสนเทศใหม่ๆเกิดขึ้นตลอดเวลา อย่างไรก็ตามได้มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้ (ประภาวดี สืบสนธ์. 2543. 13-15)
2.1 การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2.2 การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
2.3 การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
2.4 การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1) สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2) สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3) สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4) สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
2.5 การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)

ที่มา : ประภาวดี สืบสนธ์.สารสนเทศในบริบทสังคม.กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 2543.

thida080 said...

จากการสืบค้นประเภทของสารสนเทศจากเว็บไซต์

1.สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1.1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้

1.2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ลักษณะพื้นฐานประการหนึ่งของสารนิเทศ คือ สารนิเทศมีการสั่งสม สืบทอดต่อกันมา กล่าวคือ สารนิเทศเรื่องหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นได้โดยอาศัยสารนิเทศที่เกิดขึ้นมาก่อน สารนิเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอระหว่างการถ่ายทอดสื่อสาร

ที่มา:http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm

สืบค้นเมื่อวันที่ 5 พ.ย 2553 เวลา 1.25 pm

2.จำแนกได้ 2 ประเภท (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543, หน้า 12-13)
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็น
1.1 หนังสือ แบ่งเป็น
- หนังสือสารคดี (Nonfiction books) ประกอบด้วย หนังสือตำราวิชาการ หนังสืออ่าน
ประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสืออ้างอิง ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ คู่มือสถาบัน
- หนังสือบันเทิงคดี (Fiction) ได้แก่ หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเรื่องสั้น หนังสือสำหรับ
เด็กและเยาวชน
1.2 วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ ราย
ปักษ์ รายเดือน
1.3 จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
1.4 กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัด
แปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
2.1 โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ
ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ
ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้
จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
2.4 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาด
เล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
2.5 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม
แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์-อิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูล
ที่มา : http://www.uthai.ru.ac.th/km_ut/images/stories/pdf_file/Information%20research.pdf

สืบค้นเมื่อ วันที่ 5 พ.ย 2553 เวลา 1.30 pm

Nitiwat06490083 said...

ประเภทของสารสนเทศ จาก Website ที่ 1
ประเภทสารสนเทศที่แบ่งออกตามสภาพความต้องการได้ 3 ประเภทดังนี้
(1) สารสนเทศที่ทำประจำ
เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เช่นการทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนแต่ละวัน ทำรายงานเกี่ยวกับ รายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน การทำรายงานเกี่ยวกับผู้มาติดต่อ หรือตรวจเยี่ยมโรงเรียนในแต่ละเดือน
(2) สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย
ตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ เช่นงบดุลของบริษัทที่ต้องทำขึ้น เพื่อยื่นต่อทางราชการ และใช้ในการเสียภาษี เป็นต้น
3) สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ
ในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้อง ทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่นรัฐบาลต้องการสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ จำเป็นต้องได้ข้อมูล เพื่อสนับสนุนว่าจะสร้างดีหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อสรุป รายงานขึ้นเป็นการเฉพาะ แล้วนำสารสนเทศนั้นมาพิจารณาถึงข้อดีข้อเสีย
เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ การดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศ เหล่านี้จึงเป็นงานเฉพาะที่ทำเป็นครั้งคราว เฉพาะตามโครงการหนึ่งๆ เท่านั้น
เว็บหลัก http://www.thaigoodview.com.
เว็บรอง http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00001
เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2553

nutarat 06500086 said...

ประเภทของสารสนเทศ จากเวปไซต์
เวปไซต์ที่ 1
สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา:http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm

เวปไซต์ที่ 2
ประเภทสารสนเทศที่แบ่งออกตามสภาพความต้องการ
1) สารสนเทศที่ทำประจำ
เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เช่น การทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนแต่ละวัน ทำรายงานเกี่ยวกับ รายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน การทำรายงานเกี่ยวกับผู้มาติดต่อหรือตรวจเยี่ยมโรงเรียนในแต่ละเดือน
2) สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย
ตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ เช่น งบดุลของบริษัทที่ต้องทำขึ้น เพื่อยื่นต่อทางราชการ และใช้ในการเสียภาษี เป็นต้น
3) สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ
ในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้อง ทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่นรัฐบาลต้องการสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ จำเป็นต้องได้ข้อมูล
เพื่อสนับสนุนว่าจะสร้างดีหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อสรุปรายงานขึ้นเป็นการเฉพาะ แล้วนำสารสนเทศนั้นมาพิจารณาถึงข้อดีข้อเสีย เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ การดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศ เหล่านี้จึงเป็นงานเฉพาะที่ทำเป็นครั้งคราว เฉพาะตามโครงการหนึ่งๆ เท่านั้น

ที่มา:http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_3.htm#

Nitiwat06490083 said...
This comment has been removed by the author.
nutarat 06500086 said...

ประเภทของสารสนเทศ จากหนังสือ
เล่มที่ 1
ประเภทของสารสนเทศ
การจำแนกประเภทสารสนเทศที่สถานบันบริการสารสนเทศจัดหาเข้าไว้ในสถาบันและจัดเก็บเพื่อให้บริการมีวิธีจำแนกได้หลายแบบ ที่เป็นที่นิยมคือ การจำแนกประเภทตามแหล่งสารสนเทศและตามประเภทของสื่อบันทึกสารสนเทศ
1.1 สารสนเทศจำแนกตามแหล่งสารสนเทศ หมายถึง การจำแนกสารสนเทศตามการรวบรวมหรือจัดทำสารสนเทศ ซึ่งจำแนกได้เป็นแหล่งปฐมภูมิ และแหล่งตติยภูมิ
1.1.1 แหล่งปฐมภูมิ (primary source) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากแหล่งต้นโดยตรง เป็นสารสนเทศทางวิชาการที่เกี่ยวกับความคิดริเริ่มซึ่งผลิตออกมาในลักษณะการเผยแพร่ผลการศึกษา ค้นคว้า วิจัย การค้นพบทฤษฎีใหม่ให้นักศึกษา นักวิชาการ และนักวิจัยในวิชาชีพร่วมสาขาได้ศึกษา วิพากษ์วิจารณ์และอาจใช้เป็นแนวทางเพื่อการศึกษา ค้นคว้าและทำวิจัยต่อไป การศึกษา ค้นคว้า วิจัยทฤษฎีใหม่มักเผยแพร่ออกสู่สาธารณชนเพื่อให้นักวิชาการในวิชาชีพเดียวกันได้ศึกษาและวิพากษ์วิจารณ์เพื่อนำไปสู่การยอมรับเป็นทฤษฎีใหม่ที่เชื่อถือได้หรือไม่
สารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิ ซึ่งเผยแพร่ในลักษณะสิ่งพิมพ์ ได้แก่ วารสาร รายงานการวิจัย รายงานการประชุมและสัมมนาทางวิชาการ สิทธิบัตร เอกสารมาตรฐานต่างๆ ต้นฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ และวิทยานิพนธ์ และเผยแพร่ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น สารสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
1.1.2 แหล่งทุติยภูมิ (secondary source) เป็นสารสนเทศที่รวบรวม และเรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศที่มีการเผยแพร่แล้วหรือหมายถึง จากสารสนเทศปฐมภูมิ ลักษณะการรวบรวมและเรียบเรียงอาจจัดทำโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น รวบรวม สรุป ย่อเรื่อง จัดหมวดหมู่ ทำดรรชนีและสาระสังเขป ทั้งนี้มีลักษณะการเรียบเรียงเพื่อให้ใช้ข้อมูลได้สะดวก รวดเร็ว เข้าใจได้ง่ายขึ้น สารสนเทศประเภทแหล่งทุติยภูมิ ได้แก่ สื่ออ้างอิงประเภทต่างๆ สารสารที่มีการสรุปย่อและตีความ รวมทั้งหนังสือตำราที่จัดทำโดยรวบรวมเนื้อหาวิชาการสาขาต่างๆเพื่อการเรียนการสอน
สำหรับสื่ออ้างอิงประเภทสารสนเทศทุติยภูมิเป็นสื่ออ้างอิงที่รวบรวมข้อมูล สารสนเทศประเภทต่างๆ ที่ให้เนื้อหาความรู้ สถิติ รวมทั้งสารสนเทศในรูปเนื้อหาโดยย่อ และอาจรวมการตีความด้วย ได้แก่ สารานุกรม พจนานุกรม หนังสือรายงานสถิติต่างๆ ดรรชนีวารสารและสาระสังเขป
1.1.3 สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิ (tertiary source) เป็นสารสนเทศที่จัดทำในลักษณะรวบรวมขึ้นเพื่อใช้ค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิไม่ให้เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความรู้สาขาวิชาต่างๆโดยตรงแต่สามารถใช้ประโยชน์ในการค้นหาสารสนเทศที่ให้ความรู้เฉพาะวิชาสาขาได้ สารสนเทศประเภทนี้ ได้แก่ บรรณานุกรม นามานุกรม หนังสือแนะนำวรรณกรรมเฉพาะสาขาวิชาและบรรณนิทัศน์ สารสนเทศประเภทแหล่งตติยภูมิมีลักษณะการจัดทำที่คล้ายกับสารสนเทศทุติยภูมิ ดังนั้นในตำราบางเล่มจึงจัดสารสนเทศตติยภูมิรวมไว้เป็นประเภททุติยภูมิ และสารสนเทศทั้งสองแบบนี้ปัจจุบันมีการจัดทำบันทึกข้อมูลไว้ในสื่อคอมพิวเตอร์ออกเผยแพร่อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะสารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม บรรณานุกรม และดรรชนีวารสารและสาระสังเขป ซึ่งจัดเก็บข้อมูลไว้ในซีดี-รอมและฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ให้บริการทางออนไลน์

nutarat 06500086 said...

ประเภทของสารสนเทศ จากหนังสือ
เล่มที่ 1(ต่อ)
1.2 สารสนเทศจำแนกตามสื่อที่จัดเก็บ การจำแนกสารสนเทศตามสื่อที่จัดเก็บหรือสื่อที่ใช้บันทึกความรู้เป็นการจำแนกตามพัฒนาการของวัตถุที่มนุษย์คิดประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้เขียน หรือบันทึกความรู้ ได้แก่ กระดาษ วัสดุ ย่อส่วน สื่อแม่เหล็ก และสื่อแสง
1.2.1 กระดาษ เป็นสื่อบันทึกข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ได้ง่ายและมนุษย์ได้ใช้บันทึกความรู้ ประสบการณ์จนกระทั่งเป็นความคุ้นเคยของมนุษย์ในการขีดเขียน การพิมพ์เรื่องราวต่างๆ ความรู้เพื่อเผยแพร่ในสังคมมายาวนาน สิ่งพิมพ์ในลักษณะกระดาษได้แก่ วารสาร หนังสือ เอกสารต่างๆ แบบฟอร์มที่ใช้กันในสำนักงาน
1.2.2 วัสดุย่อส่วน หรือไมโครฟอร์ม (microform) คือ สื่อบันทึกสารสนเทศที่เป็นแผ่นฟิล์มถ่ายรูปเอกสารย่อส่วนในขนาดต่างๆลงบนฟิล์ม ประเภทฟิล์มม้วนเรียกว่า ไมโครฟิล์ม (microfilm) และฟิล์มแผ่นเรียกว่า ไมโครฟิช (microfiche) การถ่ายรูปเนื้อหาเอกสารบนฟิล์มจะเรียงตามลำดับเนื้อหาตามต้นฉบับ วัสดุย่อส่วนใช้จัดเก็บสำเนาต้นฉบับทั้งที่เป็นวารสาร เอกสารจดหมายเหตุ เอกสารสำคัญ วิทยานิพนธ์ เป็นต้น
1.2.3 สื่อแม่เหล็ก เป็นวัสดุสารสังเคราะห์ที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็ก สามารถใช้บันทึกและแก้ไขปรับปรุงข้อมูลได้อย่างสะดวก การใช้สื่อแม่เหล็กเป็นที่นิยมใช้กันอย่างกว้างขวางและจัดเก็บข้อมูลทั้งที่เป็นแอนะล็อกและดิจิทัล สื่อแม่เหล็กที่จัดเก็บข้อมูลดิจิทัล เช่น เทปแม่เหล็ก อาร์ดดิสก์ และดิสเก็ตต์ ในปัจจุบันสื่อเหล่านี้ได้รับการพัฒนาให้บรรจุข้อมูลได้ปริมามากและปรับแก้ไขข้อมูลได้สะดวก
1.2.4 สื่อแสงและสื่อออปติก (optical media) เป็นสื่อที่บันทึกข้อมูลและอ่านข้อมูลโดยใช้แสงเลเซอร์ ข้อมูลที่บันทึกลงสื่อแสงเป็นข้อมูลดิจิทัล สื่อแสงแบ่งประเภทเป็นสื่อที่อ่านได้เพียงอย่างเดียว เช่น ซีดี-รอม (Computer Disk-Read Only Memory) และดีวีดี (Digital Versatile Disk-DVD) มีความจุมากกว่านิยมใช้บันทึกภาพยนตร์

ที่มา:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปะศาสตร์.เอกสารการสอนชุดวิชาสารสนเทศศาสตร์เบื้องต้น.โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,2545.

nutarat 06500086 said...

ประเภทของสารสนเทศ จากหนังสือ
เล่มที่ 2
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา:ชุมพล ศฤงคารศิริ.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ:โรงพิมพ์ ป.สัมพันธ์พานิช,2538.

เล่มที่ 3
1.การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2.การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3.การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4.การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น

ที่มา:ประภาวดี สืบสนธ์.สารสนเทศในบริบทสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ:สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.2543.

thida080 said...

เพิ่มเติม จากการค้นคว้าจากหนังสือ

เล่มที่ 1

ประเภทของสารสนเทศ

ปัจจุบันสารสนเทศมีปรากฏอยู่มากมายทั้งนี้เพราะมีสารสนเทศใหม่ๆเกิดขึ้นตลอดเวลา อย่างไรก็ตามได้มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้

1. การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน

2. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น

3. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น

4. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่

1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ

2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น

3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ

4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น

5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)

ที่มา : ประภาวดี สืบสนธ์.สารสนเทศในบริบทสังคม.กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 2543.

เล่มที่ 2
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา: ชุมพล ศฤงคารศิริ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

Nitiwat06490083 said...

ประเภทของสารสนเทศ เล่มที่ 1
ประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กรได้ 2 ประเภท คือ
1. สารสนเทศภายในองค์การ (internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม
ที่มา: ชุมพร ศฤงคารศิริ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

ประเภทของสารสนเทศ เล่มที่ 2
สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติยภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ

ที่มา : ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ระบบการสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System ).กรุงเทพมหานคร : เอส แอน จี กราฟฟิก, 2545.

ประเภทของสารสนเทศ เล่มที่ 3
ประเภทสารสนเทศ
1. การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
4.1 สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
4.2 สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
4.3 สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4.4 สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
5 การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)

ที่มา : ประภาวดี สืบสนธ์.สารสนเทศในบริบทสังคม.กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 2543

Usuma said...

ประเภทของสารสนเทศ
จากการค้นคว้าจากหนังสือ...
เล่มที่ 1
ชุมพล ศฤงคารศิริ ได้แบ่งประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กรได้ 2 ประเภท คือ
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม
ที่มา: ชุมพล ศฤงคารศิริ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

เล่มที่ 2
สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น
แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติยภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ
ที่มา : ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ระบบการสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System ).กรุงเทพมหานคร : เอส แอน จี กราฟฟิก, 2545.

เล่มที่ 3
ปัจจุบันสารสนเทศมีปรากฏอยู่มากมายทั้งนี้เพราะมีสารสนเทศใหม่ๆเกิดขึ้นตลอดเวลา อย่างไรก็ตามได้มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้ (ประภาวดี สืบสนธ์. 2543. 13-15)
2.1 การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2.2 การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
2.3 การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
2.4 การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1) สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2) สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3) สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4) สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
2.5 การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
ที่มา : ประภาวดี สืบสนธ์.สารสนเทศในบริบทสังคม.กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 2543.

Usuma said...
This comment has been removed by the author.
Usuma said...

จากการค้นคว้าเว็บไซต์
เว็บไซต์ที่ 1
สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
ลักษณะพื้นฐานประการหนึ่งของสารนิเทศ คือ สารนิเทศมีการสั่งสม สืบทอดต่อกันมา กล่าวคือ สารนิเทศเรื่องหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นได้โดยอาศัยสารนิเทศที่เกิดขึ้นมาก่อน สารนิเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอระหว่างการถ่ายทอดสื่อสาร
ที่มา : เว็บหลัก : http://www.nkedu1.go.th/km/index.php
เว็บรอง : http://www.nkedu1.go.th/km/modules.php?name=News&file=article&sid=376
เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2553 เวลา 15: 23

เว็บไซต์ที่ 2
.จำแนกได้ 2 ประเภท (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543, หน้า 12-13)
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็น
1.1 หนังสือ แบ่งเป็น
- หนังสือสารคดี (Nonfiction books) ประกอบด้วย หนังสือตำราวิชาการ หนังสืออ่าน
ประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสืออ้างอิง ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ คู่มือสถาบัน
- หนังสือบันเทิงคดี (Fiction) ได้แก่ หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเรื่องสั้น หนังสือสำหรับ
เด็กและเยาวชน
1.2 วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ ราย
ปักษ์ รายเดือน
1.3 จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
1.4 กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัด
แปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
2.1 โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ
ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ
ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้
จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
2.4 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาด
เล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
2.5 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม
แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์-อิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูล
ที่มา : เว็บหลัก: http://www.uthai.ru.ac.th
เว็บรอง: http://www.uthai.ru.ac.th/km_ut/images/stories/pdf_file/Information%20research.pdf
เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2553 เวลา 15: 55

Nissawan Changkit said...

จากหนังสือ
เล่มที่ 1
จำแนกตามรูปแบบของการนำเสนอสารสนเทศ
1.สารสนเทศส่วนที่เป็นรายละเอียด (Detailed Information)
แบ่งตามวัตถุประสงค์ในการนำไปใช้ได้เป็น 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกใช้เพื่อจัดการและควบคุมการดำเนินงานภายในองค์กร ลักษณะที่สองเป็นการนำรายละเอียดที่เป็นผลลัพธ์ทั้งหมดจากการดำเนินงานมาแสดง โดยเน้นถึงรายละเอียดของกิจกรรมที่ก่อให้เกิดสารสนเทศนั้น และมักจะเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นรายวัน
2.สารสนเทศส่วนที่เป็นผลสรุป (Summary Information)
เป็นสารสนเทศที่เกิดจากการรวบรวมข้อมูลดิบที่ได้จากการดำเนินงาน หรือนำข้อมูลจากสารสนเทศส่วนที่เป็นรายละเอียดมาประมวลผลหรือคำนวณข้อมูลสรุปผลออกมาอีกครั้ง จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการวิเคราะห์แนวโน้ม และความเป็นไปได้เพื่อวางแผนป้องกันปัญหาต่าง
3.สารสนเทศเพื่อการพยากรณ์ (Prediction Information)
เป็นสารสนเทศที่มักจะมีการนำข้อมูลจากสารสนเทศส่วนที่เป็นผลสรุป หรือรายงานส่วนที่เป็นรายละเอียดมาประมวลผลหรือคำนวณ แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้นั้นไปใช้ในการวิเคราะห์และพยากรณ์แนวโน้ม การดำเนินงานต่างๆ โดยข้อมูลสารสนเทศประเภทนี้เป็นผลที่เกิดจาการคาดคะเน ซึ่งจะอาจจะไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่คาดคะเนไว้ก็ได้
4.สารสนเทศกรณีเฉพาะ (Exception Information)
เป็นสารสนเทศชนิดพิเศษ ที่สร้างขึ้นมาจากการกรั่นกรองข้อมูลตามเงื่อนไขที่ผู้ใช้ต้องการจริงๆ เพื่อนำไปสร้างเป็นรายงานเฉพาะกิจ
ที่มา >> กิตติ ภักดีวัฒนกุล. (2546). คัมภีร์สารสนเทศ. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอม แอนด์ คอนซัลท์.

เล่มที่ 2
สารสนเทศ สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภทดังนี้
1.สารสนเทศที่ได้รับแล้วต้อง/หรือไม่ต้องดำเนินการ
2.สารสนเทศที่ต้องรายงานเป็นประจำ และไม่ต้องรายงานเป็นประจำ
3.สารสนเทศที่เป็นเอกสารและไม่ใช่เอกสาร
4.สารสนเทศภายในองค์กรและภายนอกองค์กร
5.สารสนเทศเชิงประวัติและสารสนเทศอนาคต
ที่มา >> ชัชวาลย์ วงษ์ประเสริฐ. (2548). การจัดการสารสนเทศเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : เอ๊กซเปอร์เน็ท.

เล่มที่ 3
สารสนเทศแบ่งได้ 4 ประเภท
1.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามแหล่งที่มา ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศจากแหล่งภายในองค์การและสารสนเทศภายนอกองค์การ
2.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามลักษณะของสารสนเทศ ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศประเภทแข็ง เช่น ตัวเลข การวิเคราะห์สถิติ หรือข้อความ และสารสนเทศประเภทอ่อนซึ่งเป็นสารสนเทศอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การพบปะพูดคุยกับเพื่อนร่วมงาน
3.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามการแปลความหมาย ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สารสนเทศเชิงอัตนัย หมายถึง การที่แต่ละบุคคลต่างรับสารสนเทศและแปลความหมายแตกต่างกันไปตามบริบทของบุคคลนั้น สารสนเทศเชิงปรนัยจะมีความหมายที่แน่นอนคงที่
4.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามการใช้งาน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศในการปฏิบัติงาน สารสนเทศในการจัดการ สารสนเทศในงานวิชาชีพ สารสนเทศในงานกลุ่ม และสารสนเทศเชิงประวัติศาสตร์
ที่มา >> สมพร พุทธาพิทักษ์ผลและคณะ. (2546) ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

sumate100 said...

ผลที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า ประเภทของสารสนเทศจากเว็บไซต์ จำนวน 3 เว็บไซต์ มีดังต่อไปนี้
เว็บไซต์ที่ 1
สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
ที่มาของข้อมูล : http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm
เข้าถึงเมื่อ วันที่ 5 พ.ย. 2553 เวลา 17.17 น.

sumate100 said...

เว็บไซต์ที่ 2
สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

Unknown said...

ประเภทของ "สารสนเทศ" จากเว็ปไซด์

1. สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
ลักษณะพื้นฐานประการหนึ่งของสารนิเทศ คือ สารนิเทศมีการสั่งสม สืบทอดต่อกันมา กล่าวคือ สารนิเทศเรื่องหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นได้โดยอาศัยสารนิเทศที่เกิดขึ้นมาก่อน สารนิเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอระหว่างการถ่ายทอดสื่อสาร

ที่มาเว็ปรอง
http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm
ที่มาเว็ปหลัก
http://school.obec.go.
เข้าถึงเมื่อ วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤศจิกายน 2553

Unknown said...

2. ประเภทสารสนเทศที่แบ่งออกตามสภาพความต้องการ

(1) สารสนเทศที่ทำประจำ
เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เช่น
การทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนแต่ละวัน ทำรายงานเกี่ยวกับ
รายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน การทำรายงานเกี่ยวกับผู้มาติดต่อ
หรือตรวจเยี่ยมโรงเรียนในแต่ละเดือน

(2) สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย
ตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ เช่น
งบดุลของบริษัทที่ต้องทำขึ้น เพื่อยื่นต่อทางราชการ และใช้ในการเสียภาษี
เป็นต้น

(3) สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้น
โดยเฉพาะ
ในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้อง ทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุน
การตัดสินใจ เช่นรัฐบาลต้องการสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ จำเป็นต้องได้ข้อมูล
เพื่อสนับสนุนว่าจะสร้างดีหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อสรุป
รายงานขึ้นเป็นการเฉพาะ แล้วนำสารสนเทศนั้นมาพิจารณาถึงข้อดีข้อเสีย
เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ การดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศ เหล่านี้
จึงเป็นงานเฉพาะที่ทำเป็นครั้งคราว เฉพาะตามโครงการหนึ่งๆ เท่านั้น

ที่มาเว็ปรอง
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_3.htm#
ที่มาเว็ปหลัก
http://www.thaigoodview.com
เข้าถึงเมื่อ วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤศจิกายน 2553

Unknown said...

ประเภทของ "สารสนเทศ" จากหนังสือ

หนังสือเล่มที่ 1

1. การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ ภาพวาด โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น

ที่มา : ประภาวดี สืบสนธ์.สารสนเทศในบริบทสังคม.กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. 2543

Unknown said...

หนังสือเล่มที่ 2

สารสนเทศแบ่งได้ 4 ประเภท

1.จำแนกตามแหล่งที่มา ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศจากแหล่งภายในองค์การและสารสนเทศภายนอกองค์การ

2.จำแนกตามลักษณะของสารสนเทศ ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศประเภทแข็ง เช่น ตัวเลข การวิเคราะห์สถิติ หรือข้อความ และสารสนเทศประเภทอ่อนซึ่งเป็นสารสนเทศอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การพบปะพูดคุยกับเพื่อนร่วมงาน

3.จำแนกตามการแปลความหมาย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สารสนเทศเชิงอัตนัย หมายถึง การที่แต่ละบุคคลต่างรับสารสนเทศและแปลความหมายแตกต่างกันไปตามบริบทของบุคคลนั้น สารสนเทศเชิงปรนัยจะมีความหมายที่แน่นอนคงที่

4.จำแนกตามการใช้งาน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศในการปฏิบัติงาน สารสนเทศในการจัดการ สารสนเทศในงานวิชาชีพ สารสนเทศในงานกลุ่ม และสารสนเทศเชิงประวัติศาสตร์

ที่มา : สมพร พุทธาพิทักษ์ผลและคณะ.(2546) ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Unknown said...

หนังสือเล่มที่ 3

สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ

1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ

2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ

3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น

ที่มา : ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ระบบการสนเทศเพื่อการจัดการ .กรุงเทพมหานคร : เอส แอน จี กราฟฟิก, 2545.

Monchai_AOF said...

ประเภทของสารสนเทศ
สารสนเทศในยุคปัจจุบัน มีปรากฏอยู่มากมายตามแหล่งต่างๆ ทั้งนี้เนื่องจากะมีสารสนเทศใหม่ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา อย่างไรก็ตามได้มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้ (ประภาวดี สืบสนธ์. 2543. 13-15)

1. การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน

2. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอ ได้แก่ สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น

3. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น

4. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิค
สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่งสารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น

5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)

โดยที่ สารสนเทศต้นแบบหมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน ส่วนสารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น

Montean.317 said...

การสืบค้นประเภทของสารสนเทศจากเว็บไซต์ ดังนี้

เว็บไซต์ที่ 1
ประเภทของสารสนเทศ
ปัจจุบันสารสนเทศมีปรากฏอยู่มากมายทั้งนี้เพราะมีสารสนเทศใหม่ๆเกิดขึ้นตลอดเวลา อย่างไรก็ตามได้มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้ (ประภาวดี สืบสนธ์. 2543. 13-15)


1. การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)

ที่มา : นายวุฒิศักดิ์ เกิดเขียว http://gotoknow.org/blog/tongim/340416 เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2553

เว็บไซต์ที่ 2
สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา : http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm เข้าถึงเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2553

sumate100 said...

ผลที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า ประเภทของสารสนเทศจากหนังสือ เอกสาร ตำราต่างๆ ตามที่อ.อ้อยมอบหมายมา ว่าไม่เกิน 3 ปี แต่ด้วยหนังสือ เอกสาร ตำรา หายากยิ่งกว่าสิ่งใด จึงได้มาดังที่ปรากฎจำนวน 3 เล่ม ดังต่อไปนี้
เล่มที่ 1
สารสนเทศ แบ่งตามลักษณะได้ 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) ทรัพยากรตีพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ตีพิมพ์เป็นขนาดต่างๆ กัน และมีหลากหลายรูปแบบเช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์อื่นๆ เช่น จุลสาร และ กฤตภาค เป็นต้น
2. ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources) ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ เป็นวัสดุหรือสื่อที่ให้สาระความรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา โดยการดูและการฟัง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ โสตทัศนวัสดุ และวัสดุย่อส่วน
3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources) ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นทรัพยากรที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการบันทึก อ่านหรือฟัง ลักษณะ เป็นทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิตอล ซึ่งสามารถบันทึกสารสนเทศได้ทั้งที่เป็น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว โดยเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ อย่างหลากหลายคล้ายทรัพยากรสิ่งพิมพ์
ที่มาของข้อมูล : ขอนแก่น, มหาวิทยาลัย. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. เอกสาร ประกอบการสอนวิชา 412402 ห้องสมุดและวิธีค้นคว้า. ขอนแก่น, 2549.

sumate100 said...

เล่มที่ 2
ประเภทของสารสนเทศ จำแนกได้ 2 ประเภท
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ แบ่งออกได้เป็น
1) หนังสือ แบ่งเป็น หนังสือสารคดี (Nonfiction books) และหนังสือบันเทิงคดี (Fiction)
2) วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน
3) จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
4) กฤตภาค คือ ข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัดแปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้นๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
2 สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
1) โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2) ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
3) โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
4) วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาดเล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
5) วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูล
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น
ที่มาของข้อมูล : พรณิชา ชาตะพันธุ์. การใช้สารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตยานนาวา. สารนิพนธ์การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2549.

sumate100 said...

เล่มที่ 3
สารสนเทศแบ่งได้ 4 ประเภท
1.จำแนกตามแหล่งที่มา ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศจากแหล่งภายในองค์การและสารสนเทศภายนอกองค์การ
2.จำแนกตามลักษณะของสารสนเทศ ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศประเภทแข็ง เช่น ตัวเลข การวิเคราะห์สถิติ หรือข้อความ และสารสนเทศประเภทอ่อนซึ่งเป็นสารสนเทศอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การพบปะพูดคุยกับเพื่อนร่วมงาน
3.จำแนกตามการแปลความหมาย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สารสนเทศเชิงอัตนัย หมายถึง การที่แต่ละบุคคลต่างรับสารสนเทศและแปลความหมายแตกต่างกันไปตามบริบทของบุคคลนั้น สารสนเทศเชิงปรนัยจะมีความหมายที่แน่นอนคงที่
4.จำแนกตามการใช้งาน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศในการปฏิบัติงาน สารสนเทศในการจัดการ สารสนเทศในงานวิชาชีพ สารสนเทศในงานกลุ่ม และสารสนเทศเชิงประวัติศาสตร์
ที่มาของข้อมูล : สมพร พุทธาพิทักษ์ผลและคณะ. ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี:มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช , 2546

Sathaporn said...

ประเภทสารสนเทศ จากหนังสือ
เล่มที่ 1 สารสนเทศสามารถแบ่งตามประเภทได้ ดังนี้
1. สิ่งพิมพ์ หรือเอกสาร เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ รายงานการประชุม จดหมายเหตุ บันทึกราชการ หรืออื่นๆ
2. สิ่งไม่ตีพิมพ์ ได้แก่พวกโสตวัสดุ เช่น รูปภาพ ภาพถ่าย ภาพจำลอง ภาพโปสเตอร์ แผนภูมิ แผนที่ ภาพที่จัดบนแผ่นฟิล์ม เช่น ภาพเลื่อน ภาพนิ่ง ภาพยนต์ วีดิทัศน์ นอกจากนี้ยังมีหุ่นจำลองต่างๆ ของจริงและเครื่องเสียงต่างๆ เช่น เครื่องเสียง
3. วัสดุย่อส่วน หรือวัสดุดุจุลรูป เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช ไมโครคาร์ด ไมโครพรินท์

ที่มา
วรรณี ศิริสุนทร.แหล่งและบริการสนเทศทางสังคมศาสตร์.หจก ภาพพิมพ์,2533.

เล่มที่ 2สารสนเทศสามารถแบ่งตามประเภทได้ ดังนี้
1. การจัดตามคุณภาพ โยพิจารณาความมีสาระหรือประโยชน์เป็นหลัก ถ้าใช้เกณฑ์นี้ สารสนเทศสามารถจำแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- สารสนเทศแข็ง เช่น ข้อเท็จจริง สถิติ ตัวเลข และการวิเคราะห์ เป็นสารสนเทศที่เชื่อถือได้และให้ประโยชน์
- สารสนเทศอ่อน เช่น ความคิดเห็น สามัญสำนึก ความรู้ทั่วไปที่นำเสนอโดยไม่เป็นวิชาการ
2. การจัดตามแหล่งเกิด ถ้าใช้เกณฑ์นี้ สารสนเทศสามารถจำแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- สารสนเทศภายในหน่วยงาน
- สารสนเทศนอกหน่วยงาน
3. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอ จะจำแนกสารสนเทศเป็น
- คำพูด การสนทนา
- ข้อความตีพิมพ์
- ภาพวาด
- โสตทัศนวัสดุ
- วัสดุย่อส่วน
- สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
4. การจัดตามสาขาความรู้
5. การจัดตามความต้องการนำไปใช้ขององค์การนั้น
6. การจัดตามการใช้และถ่ายทอด
- สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
- สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
- สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
- สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
7. การจัดตามความต้องการสนเทศในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ซึ่งสามารถจำแนกสารสนเทศได้เป็น 2ประเภท คือ
- สารสนเทศเพื่อการพัฒนาในระยะเริ่มแรก
- สารสนเทศเพื่ออุตสาหกรรมในระยะก้าวหน้า
8. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิตและการจัดทำ จำแนกสารสนเทศได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
- สารสนเทศต้นแบบ ได้แก่ สารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ
- สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นใหม่ให้เหมาะและมีคุณค่าต่อผู้ใช้ บางครั้งเรียกว่า สารสนเทศตติยภูมิ

Sathaporn said...

ที่มา : ประภาวดี สืบสนธิ์.สารสนเทศในบริบทสังคม.หจก.พี.เอ็น.การพิมพ์:กรุงเทพ,2543.

Sathaporn said...

ประเภทสารสนเทศ จากหนังสือ
เล่มที่ 3 สารสนเทศสามารถแบ่งตามประเภทได้ ดังนี้
1. สื่อสิ่งพิมพ์ คือ หนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ชนิดต่างๆอาจแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ
- ต้นฉบับตัวเขียนและจดหมายเหตุ
- หนังสือ
- สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
- จุลสาร
- กฤตภาค
2. สื่อไม่ตีพิมพ์ คือ สื่อที่บันทึกความรู้ ข่าวสาร สารสนเทศ ในรูปแบบอื่นที่นอกเหนือจากหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ อาจแบ่งได้ ดังนี้
- วัสดุกราฟฟิก
- วัสดุแผนที่
- วัสดุบันทึกเสียง
- สื่อโสตทัศน์ที่ให้ทั้งภาพและเสียง
- วัสดุสามมิติและของจริง
- วัสดุย่อส่วน
- สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

ที่มา : คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า,2548.

จิตเสน076 said...

ประเภทของสารสนเทศ
เล่มที่ 1
การจำแนกประเภทของสารสนเทศมีหลายรูปแบบ ในที่นี้จะนำเสนอการแบ่งประเภทของสารสนเทศตามแหล่งที่มา ดังนี้

1. แหล่งปฐมภูมิ หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากแหล่งต้นโดยตรง เป็นผลผลิตเริ่มแรกจากการคิดค้น ยังมิได้ถูกดัดแปลงไปจากรูปแบบดั้งเดิม ซึ่งอาจเผยแพร่ในหลายลักษณะ เช่น วารสาร สิทธิบัตร เอกสารมาตรฐานต่างๆ ที่เป็นต้นฉบับ จดหมายเหตุ วิทยานิพนธ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต่าง ๆ เป็นต้น

2. แหล่งทุติยภูมิ เป็นสารสนเทศที่รวบรวม และเรียบเรียงขึ้นใหม่จากสารสนเทศปฐมภูมิ สารสนเทศประเภทแหล่งทุติยภูมิ ได้แก่ สื่ออ้างอิงประเภทต่างๆ สารสารที่มีการสรุปย่อและตีความ รวมทั้งหนังสือตำราที่จัดทำโดยรวบรวมเนื้อหาวิชาการสาขาต่างๆเพื่อการเรียนการสอน เป็นต้น
ที่มา : รัชนี ศุภพงษ. เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องตน. กรุงเทพฯ : แม็งการพิมพ, 2546.

เล่มที่ 2
การจำแนกสารสนเทศตามแหล่งที่มาข้างต้น นักวิชาการบางท่านได้แบ่งสารสนเทศออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศแหล่งปฐมภูมิ แหล่งทุติยภูมิ และแหล่งตติยภูมิ ซึ่งจะขอเพิ่มเติมเฉพาะสารสนเทศแหล่งตติยภูมิ โดยมีรายละเอียดดังนี้
สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิ เป็นสารสนเทศที่จัดทำสำหรับใช้ค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ สารสนเทศจากแหล่งตติยภูมิไม่ให้เนื้อหาสาระเกี่ยวกับความรู้สาขาวิชาต่างๆโดยตรง แต่จะมีประโยชน์ในการค้นหาสารสนเทศปฐมภูมิ และทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับความรู้สาขาวิชาต่างๆที่ต้องการ สารสนเทศประเภทนี้ ได้แก่ บรรณานุกรม นามานุกรม และบรรณนิทัศน์ เป็นต้น

ที่มา : ศันสนีย สุวรณณเจตต. หองสมุดกับการรูสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : พิสิษฐการพิมพ, 2546.

จิตเสน076 said...

ขอเพิ่มเติม (ต่อ) นะครับ

เล่มที่ 3

ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ จำแนกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. วัสดุไม่ตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุสารสนเทศที่ไม่อยู่ในรูปแบบของตัวพิมพ์ และสามารถสื่อความหมายของข้อมูลที่บรรจุอยู่ได้โดยอาศัยภาพและเสียงเป็นหลัก แบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้แก่ แผนที่และลูกโลก รูปภาพ หุ่นจำลอง เทปบันทึกภาพ เป็นต้น
2. วัสดุตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุที่อยู่ในรูปแบบของตัวพิมพ์ ซึ่งบันทึกความรู้ที่มีเนื้อหาสาระเพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้าอ้างอิง หรือเพื่อความบันเทิง โดยผลิตเป็นหนังสือ สิ่งพิมพ์ หรือเอกสารรูปแบบต่างๆ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร และกฤตภาค (สิ่งพิมพ์ที่ได้จากการตัดข่าว บทความจากหนังสือพิมพ์หรือวารสาร และนำมาปะบนกระดาษ) เป็นต้น
3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่บันทึกสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ หรือดิจิตอล สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ในปริมาณสูง เวลาใช้ ต้องมีเครื่องแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสัญญาณภาพและเสียง วัสดุประเภทนี้ ได้แก่ แผ่นวิดีทัศน์ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สื่อการเรียนการสอนบนเครือข่าย
ที่มา : สวัสดิ์ แสงบางปลา และคณะ. เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องตน. กรุงเทพฯ : แม็คการพิมพ, 2546.

เว็บไซต์
ประเภทสารสนเทศที่แบ่งออกตามสภาพความต้องการ
(1) สารสนเทศที่ทำประจำ เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เช่นการทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนแต่ละวัน ทำรายงานเกี่ยวกับ
รายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน การทำรายงานเกี่ยวกับผู้มาติดต่อ
หรือตรวจเยี่ยมโรงเรียนในแต่ละเดือน
(2) สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมายตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ เช่น งบดุลของบริษัทที่ต้องทำขึ้น เพื่อยื่นต่อทางราชการ และใช้ในการเสียภาษี
เป็นต้น
(3) สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้น โดยเฉพาะในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้อง ทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่นรัฐบาลต้องการสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ จำเป็นต้องได้ข้อมูล เพื่อสนับสนุนว่าจะสร้างดีหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อสรุป รายงานขึ้นเป็นการเฉพาะ แล้วนำสารสนเทศนั้นมาพิจารณาถึงข้อดีข้อเสีย
เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ การดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศ เหล่านี้จึงเป็นงานเฉพาะที่ทำเป็นครั้งคราว เฉพาะตามโครงการหนึ่งๆ เท่านั้น
ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_3.htm#
เข้าถึงวันที่ 5 พ.ย. 2553

จิตเสน076 said...

ขอเพิ่มเติม (ต่อ) นะครับ

เล่มที่ 3

ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ จำแนกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. วัสดุไม่ตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุสารสนเทศที่ไม่อยู่ในรูปแบบของตัวพิมพ์ และสามารถสื่อความหมายของข้อมูลที่บรรจุอยู่ได้โดยอาศัยภาพและเสียงเป็นหลัก แบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้แก่ แผนที่และลูกโลก รูปภาพ หุ่นจำลอง เทปบันทึกภาพ เป็นต้น
2. วัสดุตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุที่อยู่ในรูปแบบของตัวพิมพ์ ซึ่งบันทึกความรู้ที่มีเนื้อหาสาระเพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้าอ้างอิง หรือเพื่อความบันเทิง โดยผลิตเป็นหนังสือ สิ่งพิมพ์ หรือเอกสารรูปแบบต่างๆ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร และกฤตภาค (สิ่งพิมพ์ที่ได้จากการตัดข่าว บทความจากหนังสือพิมพ์หรือวารสาร และนำมาปะบนกระดาษ) เป็นต้น
3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่บันทึกสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ หรือดิจิตอล สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ในปริมาณสูง เวลาใช้ ต้องมีเครื่องแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสัญญาณภาพและเสียง วัสดุประเภทนี้ ได้แก่ แผ่นวิดีทัศน์ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สื่อการเรียนการสอนบนเครือข่าย
ที่มา : สวัสดิ์ แสงบางปลา และคณะ. เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องตน. กรุงเทพฯ : แม็คการพิมพ, 2546.

จิตเสน076 said...

ขอเพิ่มเติม (ต่อ) นะครับ


เว็บไซต์
ประเภทสารสนเทศที่แบ่งออกตามสภาพความต้องการ
(1) สารสนเทศที่ทำประจำ เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เช่นการทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนแต่ละวัน ทำรายงานเกี่ยวกับ
รายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน การทำรายงานเกี่ยวกับผู้มาติดต่อ
หรือตรวจเยี่ยมโรงเรียนในแต่ละเดือน
(2) สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมายตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ เช่น งบดุลของบริษัทที่ต้องทำขึ้น เพื่อยื่นต่อทางราชการ และใช้ในการเสียภาษี
เป็นต้น
(3) สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้น โดยเฉพาะในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้อง ทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่นรัฐบาลต้องการสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ จำเป็นต้องได้ข้อมูล เพื่อสนับสนุนว่าจะสร้างดีหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อสรุป รายงานขึ้นเป็นการเฉพาะ แล้วนำสารสนเทศนั้นมาพิจารณาถึงข้อดีข้อเสีย
เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ การดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศ เหล่านี้จึงเป็นงานเฉพาะที่ทำเป็นครั้งคราว เฉพาะตามโครงการหนึ่งๆ เท่านั้น
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_3.htm#
เข้าถึงวันที่ 5 พ.ย. 2553

Unknown said...

ประเภทของสารสนเทศ
เว็บไซต์
สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
ลักษณะพื้นฐานประการหนึ่งของสารนิเทศ คือ สารนิเทศมีการสั่งสม สืบทอดต่อกันมา กล่าวคือ สารนิเทศเรื่องหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นได้โดยอาศัยสารนิเทศที่เกิดขึ้นมาก่อน สารนิเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอระหว่างการถ่ายทอดสื่อสาร

ที่มา : http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm เข้าถึงวันที่ 5 พ.ย. 2553

Unknown said...

ประเภทของสารสนเทศ (ต่อ)


เล่ม 1
สารสนเทศจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน โดยสารสนเทศประเภทนี้ นักวิชาการบางท่านอาจเรียกว่า สารสนเทศปฐมภูมิ
สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น โดยสารสนเทศประเภทนี้ นักวิชาการบางท่านอาจเรียกว่า สารสนเทศทุติยภูมิ

ที่มา : โกสันต เทพสิทธิทราภรณ.เทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: แม็ค, 2546.

Unknown said...

ประเภทสารสนเทศ (ต่อ)


เล่ม 2

ประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ จำแนกได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
1. วัสดุไม่ตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุสารสนเทศที่ไม่อยู่ในรูปแบบของตัวพิมพ์ และสามารถสื่อความหมายของข้อมูลที่บรรจุอยู่ได้โดยอาศัยภาพและเสียงเป็นหลัก แบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้แก่ แผนที่และลูกโลก รูปภาพ หุ่นจำลอง เทปบันทึกภาพ เป็นต้น
2. วัสดุตีพิมพ์ หมายถึง วัสดุที่อยู่ในรูปแบบของตัวพิมพ์ ซึ่งบันทึกความรู้ที่มีเนื้อหาสาระเพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้าอ้างอิง หรือเพื่อความบันเทิง โดยผลิตเป็นหนังสือ สิ่งพิมพ์ หรือเอกสารรูปแบบต่างๆ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร และกฤตภาค (สิ่งพิมพ์ที่ได้จากการตัดข่าว บทความจากหนังสือพิมพ์หรือวารสาร และนำมาปะบนกระดาษ) เป็นต้น
3. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่บันทึกสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ หรือดิจิตอล สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ในปริมาณสูง เวลาใช้ ต้องมีเครื่องแปลงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ เป็นสัญญาณภาพและเสียง วัสดุประเภทนี้ ได้แก่ แผ่นวิดีทัศน์ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ สื่อการเรียนการสอนบนเครือข่าย

ที่มา : สวัสดิ์ แสงบางปลา และคณะ. เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องตน. กรุงเทพฯ : แม็คการพิมพ, 2546.

Unknown said...

ประเภทสารสนเทศ (ต่อตอนอวสาน)


เล่ม 3
ประเภทของสารสนเทศ
ปัจจุบันสารสนเทศมีปรากฏอยู่มากมายทั้งนี้เพราะมีสารสนเทศใหม่ๆเกิดขึ้นตลอดเวลา อย่างไรก็ตามได้มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้
1) การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2) การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3) การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4) การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น

ที่มา: ประภาวดี สืบสนธิ์. สารสนเทศในบริบทสังคม. กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 2543.

Montean.317 said...

การสืบค้นประเภทของสารสนเทศจากหนังสือ

เล่มที่ 1
ชุมพล ศฤงคารศิริ ได้แบ่งประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กรได้ 2 ประเภท คือ
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา: ชุมพล ศฤงคารศิริ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

เล่มที่ 2
สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติยภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ

ที่มา : ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ระบบการสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System ).กรุงเทพมหานคร : เอส แอน จี กราฟฟิก, 2545.

เล่มที่ 3
สารสนเทศแบ่งได้ 4 ประเภท
1.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามแหล่งที่มา ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศจากแหล่งภายในองค์การและสารสนเทศภายนอกองค์การ
2.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามลักษณะของสารสนเทศ ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศประเภทแข็ง เช่น ตัวเลข การวิเคราะห์สถิติ หรือข้อความ และสารสนเทศประเภทอ่อนซึ่งเป็นสารสนเทศอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การพบปะพูดคุยกับเพื่อนร่วมงาน
3.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามการแปลความหมาย ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สารสนเทศเชิงอัตนัย หมายถึง การที่แต่ละบุคคลต่างรับสารสนเทศและแปลความหมายแตกต่างกันไปตามบริบทของบุคคลนั้น สารสนเทศเชิงปรนัยจะมีความหมายที่แน่นอนคงที่
4.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามการใช้งาน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศในการปฏิบัติงาน สารสนเทศในการจัดการ สารสนเทศในงานวิชาชีพ สารสนเทศในงานกลุ่ม และสารสนเทศเชิงประวัติศาสตร์

ที่มา : สมพร พุทธาพิทักษ์ผลและคณะ. (2546) ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Montean.317 said...

การสืบค้นประเภทของสารสนเทศจากหนังสือ

เล่มที่ 1
ชุมพล ศฤงคารศิริ ได้แบ่งประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์กรได้ 2 ประเภท คือ
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา: ชุมพล ศฤงคารศิริ. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

เล่มที่ 2
สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติยภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ

ที่มา : ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ระบบการสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System ).กรุงเทพมหานคร : เอส แอน จี กราฟฟิก, 2545.

เล่มที่ 3
สารสนเทศแบ่งได้ 4 ประเภท
1.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามแหล่งที่มา ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศจากแหล่งภายในองค์การและสารสนเทศภายนอกองค์การ
2.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามลักษณะของสารสนเทศ ซึ่งแบ่งออกเป็นสารสนเทศประเภทแข็ง เช่น ตัวเลข การวิเคราะห์สถิติ หรือข้อความ และสารสนเทศประเภทอ่อนซึ่งเป็นสารสนเทศอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การพบปะพูดคุยกับเพื่อนร่วมงาน
3.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามการแปลความหมาย ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สารสนเทศเชิงอัตนัย หมายถึง การที่แต่ละบุคคลต่างรับสารสนเทศและแปลความหมายแตกต่างกันไปตามบริบทของบุคคลนั้น สารสนเทศเชิงปรนัยจะมีความหมายที่แน่นอนคงที่
4.ประเภทของสารสนเทศจำแนกตามการใช้งาน แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศในการปฏิบัติงาน สารสนเทศในการจัดการ สารสนเทศในงานวิชาชีพ สารสนเทศในงานกลุ่ม และสารสนเทศเชิงประวัติศาสตร์

ที่มา : สมพร พุทธาพิทักษ์ผลและคณะ. (2546) ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Pakathorn 088 said...

ประเภทของ “สารสนเทศ” จาก “หนังสือ”
เล่มที่ 1 สารสนเทศแบ่งตามประเภทได้ ดังต่อไปนี้
1. การจัดตามคุณภาพ โดยพิจารณาความมีสาระหรือประโยชน์เป็นหลัก ถ้าใช้เกณฑ์นี้ สารสนเทศสามารถจำแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- สารสนเทศแข็ง เช่น ข้อเท็จจริง สถิติ ตัวเลข และการวิเคราะห์ เป็นสารสนเทศที่เชื่อถือได้ และให้ประโยชน์
- สารสนเทศอ่อน เช่น ความคิดเห็น สามัญสำนึก ความรู้ทั่วไปที่นำเสนอโดยไม่เป็นวิชาการ
2. การจัดตามแหล่งเกิด ถ้าใช้เกณฑ์นี้ สารสนเทศสามารถจำแนกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
- สารสนเทศภายในหน่วยงาน
- สารสนเทศนอกหน่วยงาน
3. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอ จะจำแนกสารสนเทศเป็น
- คำพูด การสนทนา
- ข้อความตีพิมพ์
- ภาพวาด
- โสตทัศนวัสดุ
- วัสดุย่อส่วน
- สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์
4. การจัดตามสาขาความรู้
5. การจัดตามความต้องการนำไปใช้ขององค์การนั้น
6. การจัดตามการใช้และถ่ายทอด
- สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
- สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
- สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
- สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
7. การจัดตามความต้องการสนเทศในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ซึ่งสามารถจำแนกสารสนเทศได้เป็น 2ประเภท คือ
- สารสนเทศเพื่อการพัฒนาในระยะเริ่มแรก
- สารสนเทศเพื่ออุตสาหกรรมในระยะก้าวหน้า
8. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิตและการจัดทำ จำแนกสารสนเทศได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
- สารสนเทศต้นแบบ ได้แก่ สารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ
- สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นใหม่ให้เหมาะและมีคุณค่าต่อผู้ใช้ บางครั้งเรียกว่า สารสนเทศตติยภูมิ

ที่มา : ประภาวดี สืบสนธิ์.สารสนเทศในบริบทสังคม.หจก.พี.เอ็น.การพิมพ์:กรุงเทพ,2543.

Pakathorn 088 said...

(ต่อ)
เล่มที่ 2 สารสนเทศแบ่งตามประเภทได้ ดังต่อไปนี้
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา: ชุมพล ศฤงคารศิริ."ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ".กรุงเทพ: โรงพิมพ์ ป. สัมพันธ์พานิช, 2538

Pakathorn 088 said...

(ต่อ)
เล่มที่ 3 สารสนเทศแบ่งตามประเภทได้ ดังต่อไปนี้
1. สื่อสิ่งพิมพ์ คือ หนังสือและเอกสารสิ่งพิมพ์ชนิดต่างๆอาจแบ่งเป็น 5 ประเภท คือ
- ต้นฉบับตัวเขียนและจดหมายเหตุ
- หนังสือ
- สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
- จุลสาร
- กฤตภาค
2. สื่อไม่ตีพิมพ์ คือ สื่อที่บันทึกความรู้ ข่าวสาร สารสนเทศ ในรูปแบบอื่นที่นอกเหนือจากหนังสือ หรือสิ่งพิมพ์ อาจแบ่งได้ ดังนี้
- วัสดุกราฟฟิก
- วัสดุแผนที่
- วัสดุบันทึกเสียง
- สื่อโสตทัศน์ที่ให้ทั้งภาพและเสียง
- วัสดุสามมิติและของจริง
- วัสดุย่อส่วน
- สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์

ที่มา : คณาจารย์ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า,2548.

Pakathorn 088 said...

ประเภทของ “สารสนเทศ” จาก “เว็ปไซต์”
สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
เว็ปไซด์หลัก http://www.nkedu1.go.th/km/
เว็ปไซด์รอง http://www.nkedu1.go.th/km/modules.php?name=News&file=article&sid=376
เข้าถึงเมื่อ วันที่ 6 พฤศจิกายน 2553 เวลา 8.02 น.

Mr.Excel said...

Book1
Formal and Informal information
Information can divide into 2 parts, Informal information and formal information. Some of the formal information you might use every day include: Newspapers or electronic newsfeeds, magazine article, management reports, staff disciplinary procedures, videos of product presentations, layouts, maps, and blueprint.
You will also use a number of informal information – so informal that you might not even recognize them as such they can include: A chat with the managing director’s personal assistant whilst queuing for lunch, checking-out a problem with a colleague, meeting up with colleagues from the same trade or professional association at the annual conference
Reference:
Elsevier (2009). Information and knowledge management: Formal and Informal Information. Oxford, Great Britain: Elearn Limited.

Book2
Formal versus Informal Information
Information can divide into 2 parts, Informal information and formal information. Formal information is based on the supposition that we can identify individuals’ information requirements and that we can also determine the methods of producing information from data to satisfy these requirements. Examples of formal information include: legal requirements, government legislation, union contracts, and etc. Examples of informal information include: opinions, personal experiences, hunches and etc. Formal information allows us to extract from the recipient the processing or conversion procedures for producing information from data. On the other hand, the value of informal information is arbitrarily assessed by its recipient. The form and content of informal information are both subjective and unstructured, and the process which converts data to information cannot be separated from the recipient.
Reference:
Gary, P. (1979). Information System: The Theory and Practice. New York: Macmillan Publishing Company.

Mr.Excel said...

Book3
Informal and Formal
Information can divide into 2 parts, Informal information and formal information. Informal Information includes opinion, hearsay, gossip and etc. In formal information is needed to complement formal information; it may be used as a substitute in the absence of formal information. In all case, its value as information is determined solely by its recipient. To some extent, informal information will always be an important part of the total informational requirement for organizations. But its subjective nature excludes it from the domain of organizational information is the primary product produced by a well conceived information system. Formal information includes stockholders, general decision-making processes, planning requirements, organizational budgets, and etc. are all example of highly structured formalized of information.
Reference:
John, G. B. (1979). Information System: Analysis Basic Data and Information Concepts. Canada: Quebec.

Mr.Excel said...

Website1
Information can divide into 3 parts depend on the resources, primary, secondary, or tertiary sources. Primary sources are original materials. They are from the time period involved and have not been filtered through interpretation or evaluation. Primary sources are original materials on which other research is based. They are usually the first formal appearance of results in physical, print or electronic format. They present original thinking, report a discovery, or share new information. The definition of a primary source may vary depending upon the discipline or context. Examples include: Artifacts (e.g. coins, plant specimens, fossils, furniture, tools, clothing, all from the time under study); Audio recordings (e.g. radio programs) Diaries; Internet communications on email; Interviews (e.g., oral histories, telephone, e-mail); etc.
Secondary sources are less easily defined than primary sources. Generally, they are accounts written after the fact with the benefit of hindsight. They are interpretations and evaluations of primary sources. Secondary sources are not evidence, but rather commentary on and discussion of evidence. However, what some define as a secondary source, others define as a tertiary source. Context is everything. The definition of a secondary source may vary depending upon the discipline or context. Examples include: Bibliographies (also considered tertiary); Biographical works; Commentaries, criticisms; Dictionaries, Encyclopedias (also considered tertiary); etc.
Tertiary sources consist of information which is a distillation and collection of primary and secondary sources. Examples include: Almanacs; Bibliographies (also considered secondary); Chronologies; Dictionaries and Encyclopedias (also considered secondary); Directories; etc.
Reference
University of Maryland. (2006). Type of Information. Retrieved on November, 6, 2010 from http://www.lib.umd.edu/guides/primary-sources.html

Unknown said...

ประเภทของสารสนเทศ(หนังสือ)
เล่มที่ 1 มีผู้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดประเภทของสารสนเทศไว้ดังนี้
1. การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2. การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3. การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4. การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
5. การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมี ลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น

ที่มา:ประภาวดี สืบสนธ์.(2543).สารสนเทศในบริบทสังคม.พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย.

Unknown said...

เล่มที่ 2 สารสนเทศ แบ่งตามลักษณะได้ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources)
ทรัพยากรตีพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ตีพิมพ์เป็นขนาดต่าง ๆ กัน และมีหลากหลายรูปแบบเช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สิ่งพิมพ์อื่น ๆ เช่น จุลสาร และ กฤตภาค เป็นต้น
- หนังสือเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึกเรียบเรียงเรื่องราว เหตุการณ์วิชาความรู้ ประสบการณ์และความคิดต่าง ๆ
- วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่อง (Serial) มีกำหนดออกที่แน่นอน เป็นรายสัปดาห์ (Week) รายปักษ์ (Bi-week) รายเดือน (Monthly) หรือ รายสองเดือน (Bi-monthly) เป็นต้น
- หนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่อง (Serial) มีกำหนดออกที่แน่นอน ส่วนใหญ่ออกเป็นรายวัน แต่ไม่มีการเย็บเล่มเหมือนวารสาร
- จุลสาร เป็นสิงพิมพ์ขนาดเล็กที่มีเนื้อหาสาระเฉพาะด้าน มักจะเป็นเรื่องที่มีความสำคัญหรือเป็นที่สนใจในระยะหนึ่งๆ จบในเล่ม
- กฤตภาค เป็นสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้น โดยนำข้อมูลเรื่องราว สาระสำคัญจากหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือแผ่นพับ นำมาตัด แล้วผนึกลงบนกระดาษ
2. ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources)
ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ เป็นวัสดุหรือสื่อที่ให้สาระความรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา โดยการดูและการฟัง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
2.1 โสตทัศนวัสดุ หมายถึง วัสดุหรือสื่อที่ให้สาระความรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา เป็นภาพหรือเสียงมากกว่าตัวอักษร ทำให้การสื่อความหมาย เข้าใจได้อย่างรวดเร็วและเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้องผู้ใช้สามารถจดจำและเข้าใจเรื่องที่ต้องการศึกษาได้ง่ายกว่าการอ่านหนังสือ ก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการเรียนรู้สูงขึ้นด้วย
2.2 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุไม่ตีพิมพ์ประเภทหนึ่ง ที่เกิดจากการถ่ายภาพย่อส่วนของสิ่งพิมพ์ต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์มหรือกระดาษทึบแสงให้มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถอ่านด้วยตาเปล่าได้ ข้อมูลที่บันทึงลงในไมโครฟิล์มไม่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้
3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources)
ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นทรัพยากรที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยในการบันทึก อ่านหรือฟัง ลักษณะ เป็นทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิตอล ซึ่งสามารถบันทึกสารสนเทศได้ทั้งที่เป็น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว โดยเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ อย่างหลากหลายคล้ายทรัพยากรสิ่งพิมพ์ อาทิ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e–book) วารสารอิเล็กทรอนิกส์
(e–journal) หนังสือพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ สารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ แลโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นต้น

ที่มา:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์.(2549).เอกสาร ประกอบการสอนวิชา 412402 ห้องสมุดและวิธีค้นคว้า.ขอนแก่น:ภาควิชา.

Unknown said...

เล่มที่ 3
1. สารสนเทศภายในองค์การ (Internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (Eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆทางสังคม

ที่มา:ชุมพล ศฤงคารศิริ.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพ:โรงพิมพ์ ป.สัมพันธ์พานิช,2538.

Unknown said...

ประเภทสารสนเทศ (เว็ปไซด์)
สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้

2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา : http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/

จำแนกได้ 2 ประเภท 1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่าง
ๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็น
1.1 หนังสือ แบ่งเป็น
- หนังสือสารคดี (Nonfiction books) ประกอบด้วย หนังสือตำราวิชาการ หนังสืออ่าน
ประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสืออ้างอิง ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ คู่มือสถาบัน
- หนังสือบันเทิงคดี (Fiction) ได้แก่ หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเรื่องสั้น หนังสือสำหรับ
เด็กและเยาวชน
1.2 วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ ราย
ปักษ์ รายเดือน
1.3 จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
1.4 กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัด
แปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน

2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
2.1 โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ
ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ
ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้
จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
2.4 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาด
เล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
2.5 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม
แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์-อิเล็กทรอนิกส์ฐานข้อมูล

ที่มา: http://www.uthai.ru.ac.th/km_ut/images/stories/pdf_file/Information%20research.pdf

Patthawan said...

ประเภทของสารสนเทศ

เล่มที่ 1
ชุมพร ศฤงคารศิริ (2538 : 61) ได้แบ่งประเภทของสารสนเทศโดยกำหนดตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์การได้ 2 ประเภท คือ
1. สารสนเทศภายในองค์การ (internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฏิบัติงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มการติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่างๆ
2. สารสนเทศภายนอกองค์การ (eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น ดัชนีภาวะเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมต่างๆ ทางสังคม

ที่มา : วิลาสินี ชุณหะชา.ความสัมพันธ์ระหว่างระบบการบริหารข้อมูลสารสนเทศกบการนิเทศในสถานศึกษา.นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร , 2549.

เล่มที่ 2
สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
1. สารสนเทศปฐมภูมิ หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2. สารสนเทศทุติยภูมิ หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
3. สารสนเทศตติยภูมิ หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติยภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ

ที่มา : ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. ระบบการสนเทศเพื่อการจัดการ ( Management Information System ). กรุงเทพมฯ : เอส แอน จี กราฟฟิก, 2545.

เล่มที่ 3
ประเภทของสารสนเทศ (Type of information)
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) เป็นการประมวลผลที่รวบรวมข้อมูลจากรายการเปลี่ยนแปปลงต่างๆ ไว้เป็นกลุ่มหรือระยะเวลาหนึ่งแล้วจึงดำเนินการประมวลผลทีเดียว เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย มักใช้กับข้อมูลที่ไม่รีบด่วย เช่น การพิมพ์รายงาน การปรับปรุงแฟ้มลำดับ
2. การประมวลผลออนไลน์ (Online Processing) เป็นการประมวลผลที่ทำให้อุปกรณ์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าอุปกรณ์นั้นจะเป็นส่วนหนึ่งขงตัวเครื่อง หรืออุปกรณ์นั้นอยู่ไกลออกไปแต่สามารถติดต่อโดยตรงกับเครื่องได้ เช่น การประมวลผลที่กระทำผ่านเครื่องเทอร์มินอลและหน่วยประมวลผผลกลาง โดยเครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูล วิธีนี้ต้องเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง เหมาะกับงานด่วนและการสอบถามข้อมูล เช่นการสอบถามข้อมูลออนไลน์ , การประมวลผลในระบบเอทีเอ็ม

Patthawan said...

ประเภทของสารสนเทศ

เว็ปไซต์ที่ 1
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้

2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา :
เว็ปไซต์หลัก http://www.skb.ac.th
เว็ปไซต์รอง http://www.skb.ac.th/~skb/computor/nectec/0121.html

เว็บไซต์ที่ 2
จำแนกประเภทของสารสนเทศ ออกเป็น 2 ประเภท (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543, หน้า 12-13)
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่าง ๆ แบ่งออกได้เป็น
1.1 หนังสือ แบ่งเป็น
- หนังสือสารคดี (Nonfiction books) ประกอบด้วย หนังสือตำราวิชาการ หนังสืออ่าน
ประกอบ หนังสือความรู้ทั่วไป หนังสืออ้างอิง ปริญญานิพนธ์ หรือวิทยานิพนธ์ คู่มือสถาบัน
- หนังสือบันเทิงคดี (Fiction) ได้แก่ หนังสือนวนิยาย หนังสือรวมเรื่องสั้น หนังสือสำหรับ
เด็กและเยาวชน
1.2 วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ ราย
ปักษ์ รายเดือน
1.3 จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
1.4 กฤตภาค คือข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัด
แปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้น ๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
2. สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
2.1 โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ
ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2.2 ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ
ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
2.3 โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้
จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
2.4 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาด
เล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
2.5 วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ซีดีรอม
แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ หนังสือพิมพ์-อิเล็กทรอนิกส์
ฐานข้อมูล

ที่มา :
เว็บไซต์หลัก http://www.uthai.ru.ac.th
เว็บไซต์รอง http://www.uthai.ru.ac.th/km_ut/images/stories/pdf_file/Information%20research.pdf

ampa klinpayom said...

สรุปได้เป็นสองนิยามหลักๆ คือ

1.สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1.1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
1.2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
อ้างอิง

2.สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
2.1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2.2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
2.3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติย ภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ

อ้างอิงเว็บไซต์
- http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/e_learn.html
- http://elearning.northcm.ac.th/mis/

อ้างอิงหนังสือ
- ถกล นิรันดร์ศิโรจน์. "ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศ". การจัดระบบสารสนเทศในโรงเรียน (กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์, 2525).
- ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล. "ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ". กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
- ครรชิต มาลัยวงศ์. "ไอทีกับธุรกิจ แนวคิดและแนวทาง". กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, 2538

ampa klinpayom said...

ส่วนที่ 1
สรุปได้เป็นสองนิยามหลักๆ คือ

1.สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1.1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
1.2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
อ้างอิง

ampa klinpayom said...

ส่วนที่ 2

2.สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
2.1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2.2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
2.3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติย ภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ



อ้างอิงเว็บไซต์
- http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/e_learn.html
- http://elearning.northcm.ac.th/mis/

อ้างอิงหนังสือ
- ถกล นิรันดร์ศิโรจน์. "ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศ". การจัดระบบสารสนเทศในโรงเรียน (กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์, 2525).
- ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล. "ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ". กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
- ครรชิต มาลัยวงศ์. "ไอทีกับธุรกิจ แนวคิดและแนวทาง". กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, 2538

ampa klinpayom said...

ส่วนที่ 2

2.สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
2.1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2.2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
2.3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติย ภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ

ampa klinpayom said...

ส่วนที่ 3

อ้างอิงเว็บไซต์
- http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/e_learn.html
- http://elearning.northcm.ac.th/mis/

อ้างอิงหนังสือ
- ถกล นิรันดร์ศิโรจน์. "ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศ". การจัดระบบสารสนเทศในโรงเรียน (กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์, 2525).
- ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล. "ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ". กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
- ครรชิต มาลัยวงศ์. "ไอทีกับธุรกิจ แนวคิดและแนวทาง". กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, 2538

ampa klinpayom said...

สรุปได้เป็นสองนิยามหลักๆ คือ

1.สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1.1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
1.2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
อ้างอิง

2.สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
2.1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2.2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
2.3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติย ภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ

อ้างอิงเว็บไซต์
- http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/e_learn.html
- http://elearning.northcm.ac.th/mis/

อ้างอิงหนังสือ
- ถกล นิรันดร์ศิโรจน์. "ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศ". การจัดระบบสารสนเทศในโรงเรียน (กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์, 2525).
- ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล. "ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ". กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
- ครรชิต มาลัยวงศ์. "ไอทีกับธุรกิจ แนวคิดและแนวทาง". กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, 2538

ampa klinpayom said...

สรุปได้เป็นสองนิยามหลักๆ คือ

1.สารสนเทศจำแนกเป็น 2 ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1.1 สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
1.2 สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
อ้างอิง

2.สารสนเทศแยกประเภทตามที่มาและลำดับการผลิต แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ
2.1. สารสนเทศปฐมภูมิ (primary sources) หมายถึง สารสนเทศที่เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็น ผลการค้นคว้าวิจัย นำเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสารสิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ
2.2. สารสนเทศทุติยภูมิ (secondary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ได้จากการนำสารสนเทศปฐมภูมิมาสังเคราะห์และเรียบเรียงขึ้นใหม่ เพื่อเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนังสือทั่วไป หนังสือตำรา หนังสือคู่มือการทำงาน รายงานความก้าวหน้าทางวิทยาการ บทคัดย่องานวิจัย บทวิจารณ์หนังสือ วารสารสาระสังเขป เป็นต้น
2.3. สารสนเทศตติยภูมิ (tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ชี้แนะแหล่งที่อยู่ของสารสนเทศปฐมภูมิและทุติยภูมิ จะให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่หนังสือนามานุกรม บรรณานุกรม และดัชนีวารสาร เป็นต้น แหล่งสารสนเทศมีความสำคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่าสารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเชื่อถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริงมากกว่าสารสนเทศทุติย ภูมิและสารสนเทศตติยภูมิ

อ้างอิงเว็บไซต์
- http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/e_learn.html
- http://elearning.northcm.ac.th/mis/

อ้างอิงหนังสือ
- ถกล นิรันดร์ศิโรจน์. "ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศ". การจัดระบบสารสนเทศในโรงเรียน (กรุงเทพฯ : จงเจริญการพิมพ์, 2525).
- ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล. "ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ". กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
- ครรชิต มาลัยวงศ์. "ไอทีกับธุรกิจ แนวคิดและแนวทาง". กรุงเทพฯ : ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, 2538

Unknown said...

สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้

2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน

ที่มา http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm

Unknown said...

เพิ่มเติมจากในหนังสือ
ประเภทของสารสนเทศ จำแนกได้ 2 ประเภท
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ แบ่งออกได้เป็น
1) หนังสือ แบ่งเป็น หนังสือสารคดี (Nonfiction books) และหนังสือบันเทิงคดี (Fiction)
2) วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน
3) จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
4) กฤตภาค คือ ข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัดแปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้นๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
2 สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
1) โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2) ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
3) โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
4) วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาดเล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
5) วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์

ที่มา พรณิชา ชาตะพันธุ์. การใช้สารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตยานนาวา. สารนิพนธ์การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2549.

Unknown said...

เพิ่มเติมจากในหนังสือ
ประเภทของสารสนเทศ จำแนกได้ 2 ประเภท
1. สารสนเทศตีพิมพ์ (Printed materials) เป็นสารสนเทศที่มีการบันทึกข้อมูล ข่าวสารความรู้ต่างๆ บนแผ่นกระดาษ และสื่อความหมายด้วยตัวอักษรหรือสัญลักษณ์ต่างๆ แบ่งออกได้เป็น
1) หนังสือ แบ่งเป็น หนังสือสารคดี (Nonfiction books) และหนังสือบันเทิงคดี (Fiction)
2) วารสาร นิตยสาร และหนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกำหนดเวลา เช่นรายสัปดาห์ รายปักษ์ รายเดือน
3) จุลสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
4) กฤตภาค คือ ข่าว บทความ หรือรูปภาพต่าง ๆ ที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ หรือวารสาร แล้วนำมาตัดแปะบนแผ่นกระดาษ พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข่าวหรือบทความนั้นๆ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน
2 สารสนเทศไม่ตีพิมพ์ (Nonprinted materials) สามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้
1) โสตวัสดุ (Audio material) เป็นวัสดุสารสนเทศที่ใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอดสารสนเทศ ได้แก่ แผ่นเสียง เทปบันทึกเสียง แผ่นซีดี
2) ทัศนวัสดุ (Visual materials) ได้แก่ รูปภาพ แผนที่และลูกโลก ภาพเลื่อนและภาพนิ่งแผนภูมิ ภาพแผ่นใส หุ่นจำลอง ของจริงและของตัวอย่าง
3) โสตทัศนวัสดุ (Audio-visual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศที่เราสามารถรับรู้สารสนเทศได้จากการดูและการฟัง ได้แก่ ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ และแผ่นวิดีทัศน์
4) วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุสารสนเทศที่ได้จากการถ่ายทอดสิ่งพิมพ์ต้นฉบับ โดยย่อส่วนให้มีขนาดเล็กจนไม่สามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า ต้องอ่านด้วยเครื่องอ่าน ได้แก่ ไมโครฟิลม์ ไมโครฟิช
5) วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เป็นวัสดุที่เก็บสารสนเทศในรูปของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์

ที่มา พรณิชา ชาตะพันธุ์. การใช้สารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขตยานนาวา. สารนิพนธ์การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2549.

orapin said...

ใตรที่ยังไม่ได้ทำ ให้รีบโพส โดยด่วนนะคะ ด้วยความปรารถนาดี เลยมาเตือนไว้ก่อน

Unknown said...

ข้อมูลจากเว็บไซต์
ประเภทของสารสนเทศ
1. ประเภทสารสนเทศที่แบ่งออกตามสภาพความต้องการ
(1) สารสนเทศที่ทำประจำ
(2) สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย
(3) สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะ
(1) สารสนเทศที่ทำประจำ เป็นสารสนเทศที่จัดทำขึ้นเป็นประจำ และมีการดำเนินการโดยสม่ำเสมอ เช่น การทำรายงานสรุปจำนวนนักเรียนที่มาโรงเรียนแต่ละวัน ทำรายงานเกี่ยวกับ รายรับรายจ่ายประจำวันของโรงเรียน การทำรายงานเกี่ยวกับผู้มาติดต่อ หรือตรวจเยี่ยมโรงเรียนในแต่ละเดือน
(2) สารสนเทศที่ต้องทำตามกฎหมาย ตามข้อกำหนดของแต่ละประเทศจะมีการให้ทำรายงานส่งเพื่อการต่างๆ เช่น งบดุลของบริษัทที่ต้องทำขึ้น เพื่อยื่นต่อทางราชการ และใช้ในการเสียภาษี เป็นต้น
(3) สารสนเทศที่ได้รับมอบหมายให้จัดทำขึ้นโดยเฉพาะในการดำเนินงานต่างๆ บางครั้งจำเป็นต้อง ทำรายงานข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่นรัฐบาลต้องการสร้างเขื่อนอเนกประสงค์ จำเป็นต้องได้ข้อมูล เพื่อสนับสนุนว่าจะสร้างดีหรือไม่ จึงต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อสรุป รายงานขึ้นเป็นการเฉพาะ แล้วนำสารสนเทศนั้นมาพิจารณาถึงข้อดีข้อเสีย เพื่อช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ การดำเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศ เหล่านี้จึงเป็นงานเฉพาะที่ทำเป็นครั้งคราว เฉพาะตามโครงการหนึ่งๆ เท่านั้น
ที่มาของข้อมูล
http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/prajuab/tanyalak_k/2/c2_3.htm#
2.สารสนเทศจำแนกเป็น ๒ ประเภทตามลักษณะการแสวงหา คือ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้

2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
ลักษณะพื้นฐานประการหนึ่งของสารนิเทศ คือ สารนิเทศมีการสั่งสม สืบทอดต่อกันมา กล่าวคือ สารนิเทศเรื่องหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นได้โดยอาศัยสารนิเทศที่เกิดขึ้นมาก่อน สารนิเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอระหว่างการถ่ายทอดสื่อสาร
ที่มาของข้อมูล
http://www.nkedu1.go.th/km/modules.php?name=News&file=article&sid=376

Unknown said...

หนังสือเล่มที่ 1
ชุมพร ศฤงคารศิริ (2538:61) ได้แบ่งประเภทของสารสนเทศตามแหล่งกำเนิดไปสู่องค์การได้ 2 ประเภท
1. สารสนเทศภายในองค์กร (internal information) เป็นสารสนเทศสำหรับการควบคุมด้านการปฎิบัติการงาน กำหนดการประชุม แฟ้มควบคุมการตอบโต้และแฟ้มการติดต่อการควบคุมหน้าที่ของฝ่ายต่าง ๆ
/2. สารสนเทศภายนอกองค์กร (eternal information) เป็นสารสนเทศจากภายนอกหน่วยงาน จากหน่วยงานอื่น สภาพแวดล้อมทางสังคม
ที่มาของข้อมูล
วิลาสินี ชุณหะชา.ความสัมพันธ์ระหว่างระบบการบริหารข้อมูลสารสนเทศกับการนิเทศในสถานศึกษา.นครปฐม:มหาวิทยาลัยศิลปากร,2549
หนังสือเล่มที่ 2
ประเภทของสารสนเทศ แบ่งตามระบบการประมวลผลด้วยรายการเปลี่ยนแปลง
เป็นระบบที่ประมวลผลรายการข้อมูลโดยนำรายการที่เกิดในแต่ละวันแล้วนำมาประมวลผล โดยแบ่งออกเป็น 2 แบบ
1. การประมวลผลแบบกลุ่ม คือ การประมวลผลที่รวบรวมข้อมูลจากรายการเปลี่ยนแปลงต่างๆไว้เป็นกลุ่มในช่วงระยะหนึ่งและดำเนินการประมวลผลทีเดียว เช่น การพิมพ์รายงาน
2.การประมวลผลออนไลน์ คือ การประมวลผลที่ให้อุปกรณ์ที่อยู่ภายใต้การควบคุมของคอมพิวเตอร์ เช่น การประมวลผลที่ทำผ่านเครื่องเทอร์มินอล และหน่วยประมวลผลกลาง โดยจะประมวลผลทันที เช่น การสอบถามข้อมูลออนไลน์
ที่มาของข้อมูล
หนังสือเล่มที่ 3
สารสนเทศ แบ่งตามลักษณะได้ 3 ประเภท คือ
1. ทรัพยากรตีพิมพ์ (Printed Resources) คือ สิ่งพิมพ์ที่ตีพิมพ์เป็นขนาดต่าง ๆ กัน และมีหลากหลายรูปแบบ
- หนังสือเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่บันทึกเรียบเรียงเรื่องราว เหตุการณ์วิชาความรู้
- วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่อง (Serial) มีกำหนดออกที่แน่นอน
- หนังสือพิมพ์ เป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่อง (Serial) มีกำหนดออกที่แน่นอน ส่วนใหญ่ออกเป็นรายวัน แต่ไม่มีการเย็บเล่ม
- จุลสาร เป็นสิงพิมพ์ขนาดเล็กที่มีเนื้อหาสาระเฉพาะด้าน มักจะเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและ จบในเล่ม
- กฤตภาค เป็นสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ้น โดยนำข้อมูลเรื่องราว สาระสำคัญจากหนังสือพิมพ์ วารสาร หรือแผ่นพับ นำมาตัด แล้วผนึกลงบนกระดาษ
2. ทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ (Non-printed Resources) แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ
1 โสตทัศนวัสดุ หมายถึง วัสดุหรือสื่อที่ให้สาระความรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทางหูและตา เป็นภาพหรือเสียงมากกว่าตัวอักษร ทำให้การสื่อความหมาย เข้าใจได้อย่างรวดเร็วและเกิดการเรียนรู้ที่ถูกต้อง
2 วัสดุย่อส่วน เป็นวัสดุไม่ตีพิมพ์ประเภทหนึ่ง ที่เกิดจากการถ่ายภาพย่อส่วนของสิ่งพิมพ์ต้นฉบับลงบนแผ่นฟิล์มหรือกระดาษทึบแสงให้มีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถอ่านด้วยตาเปล่าได้ ข้อมูลที่บันทึงลงในไมโครฟิล์มไม่สามารถแก้ไขเพิ่มเติมได้
3. ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Resources) คือ ทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ เป็นทรัพยากรที่ต้องใช้ระบบแสงเลเซอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์เพื่อบันทึก อ่านหรือฟัง ลักษณะ เป็นทรัพยากรสารสนเทศในรูปดิจิตอล ซึ่งสามารถบันทึกสารสนเทศได้ทั้งที่เป็น ตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว โดยเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ อย่างหลากหลายคล้ายทรัพยากรสิ่งพิมพ์ อาทิ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e–book) พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ สารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นต้น

ที่มาของข้อมูล
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์. (2549). เอกสาร ประกอบการสอนวิชา 412402 ห้องสมุดและวิธีค้นคว้า. ขอนแก่น : ภาควิชา.

ittipat said...

== ประเภทของสารสนเทศ[หนังสือ] ==
@ ถ้าพิจารณาจำแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับการทำงานในองค์กร จะแบ่งระบบสารสนเทศได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. ระบบสารสนเทศสำหรับระดับผู้ปฏิบัติงาน (Operational – level systems) ช่วยสนับสนุนการทำงานของผู้ปฏิบัติงานในส่วนปฏิบัติงานพื้นฐานและงานทำรายการต่างๆขององค์กร เช่นใบเสร็จรับเงิน รายการขาย การควบคุมวัสดุของหน่วยงาน เป็นต้น
2. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้ชำนาญการ (Knowledge-level systems) ระบบนี้สนับสนุนผู้ทำงานที่มีความรู้เกี่ยวข้องกับข้อมูล วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อช่วยให้มีการนำความรู้ใหม่มาใช้ และช่วยควบคุมการไหลเวียนของงานเอกสารขององค์กร
3. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Management - level systems) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการตรวจสอบ การควบคุม การตัดสินใจ และการบริหารงานของผู้บริหารระดับกลางขององค์กร
4. ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ (Strategic-level system) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยการบริหารระดับสูง ช่วยในการสนับสนุนการวางแผนระยะยาว หลักการของระบบคือต้องจัดความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมภายนอกกับความสามารถภายในที่องค์กรมี
ที่มา : สุชาดา กีระนันทน์. เทคโนโลยีสารสนเทศสถิติ : ข้อมูลในระบบสารสนเทศ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2541,

@ สารสนเทศสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. สิ่งพิมพ์ หรือเอกสาร เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ รายงานการประชุม จดหมายเหตุ บันทึกราชการ หรืออื่นๆ
2. สิ่งไม่ตีพิมพ์ ได้แก่พวกโสตวัสดุ เช่น รูปภาพ ภาพถ่าย ภาพจำลอง ภาพโปสเตอร์ แผนภูมิ แผนที่ ภาพที่จัดบนแผ่นฟิล์ม เช่น ภาพเลื่อน ภาพนิ่ง ภาพยนต์ วีดิทัศน์ นอกจากนี้ยังมีหุ่นจำลองต่างๆ ของจริงและเครื่องเสียงต่างๆ เช่น เครื่องเสียง
3. วัสดุย่อส่วน หรือวัสดุดุจุลรูป เช่น ไมโครฟิล์ม ไมโครฟิช ไมโครคาร์ด ไมโครพรินท์
ที่มา : วรรณี ศิริสุนทร. แหล่งและบริการสนเทศทางสังคมศาสตร์. หจก ภาพพิมพ์, 2533.

ittipat said...
This comment has been removed by the author.
ittipat said...
This comment has been removed by the author.
ittipat said...
This comment has been removed by the author.
ittipat said...
This comment has been removed by the author.
ittipat said...
This comment has been removed by the author.
PORNPAT 074 said...

เนื่องจากความเห็นที่หนูส่งไปแล้วในครั้งแรกไม่ปรากฎ ซึ่งถือเป็นความผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง(ของหนูที่ไม่ได้ตรวจเช็ค) หรือว่าอาจจะถูกลบทิ้งไป หนูจึงได้ส่งมาอีกครั้งค่ะ

ประเภทของสารสนเทศ
1. สารสนเทศที่หยุดนิ่ง หรือสารสนเทศที่ได้รับการจัดเก็บ (static หรือ stored information) เป็นสารสนเทศที่ได้รับการบันทึกไว้และจัดเก็บในแหล่ง จึงเป็น source oriented information ในแง่เศรษฐกิจ สารสนเทศเป็นสินค้าอุปโภคบริโภค (Commodity) ในแง่วิทยาศาสตร์ สารสนเทศเป็นพลังงาน (Energy) และสสาร (Matter) กล่าวคือ สารสนเทศมีที่อยู่ (location) ถ่ายเทได้ (transported) เปลี่ยนแปลงได้ (altered) อย่างไรก็ตามสารสนเทศไม่สามารถวัด ชั่ง และตวงปริมาณได้
2. สารสนเทศที่มีพลังผลักเคลื่อน หรือสารสนเทศในกระแสปฏิบัติ หรือสารสนเทศดำเนินงาน (Dynamic information หรือ Active information หรือ Operative information) เป็นกระบวนการ หรือเป็นการกระทำที่ก่อให้เกิดองค์ความรู้ ได้แก่ การที่บุคคลแสวงหาทั้งสารสนเทศเชิงวิชาการ (Academic information) และสารสนเทศเชิงปฏิบัติ (Practical information) เป็นสารสนเทศที่มีผู้รับ เรียกสารสนเทศประเภทนี้ว่า Receiver oriented information เป็นสารสนเทศในสภาพแวดล้อมของสังคมปัจจุบัน
เว็บรอง http://school.obec.go.th/pasatwit/Di_li/content/comp/web/it_3.htm
เว็บหลัก http://school.obec.go.th

ประเภทของสารสนเทศ (ประภาวดี สืบสนธ์. 2543. 13-15)
1 การจัดตามแหล่งกำเนิด แบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ สารสนเทศภายในหน่วยงานและสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน
2 การจัดตามรูปแบบที่นำเสนอได้แก่สารสนเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนาข้อความตีพิมพ์ (ตัวหนังสือ ตัวเลข) ภาพวาด (โครงสร้างเคมี ภาพทางวิศวกรรม) โสตทัศนวัสดุ วัสดุย่อส่วน และสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
3 การจัดตามสาขาความรู้ เช่น สารสนเทศธุรกิจและเศรษฐกิจ สารสนเทศการเมืองและกฎหมายสารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคนิค เป็นต้น
4 การจัดตามการใช้และการถ่ายทอด จำแนกสารสนเทศเป็น 4 ประเภท ได้แก่
1. สารสนเทศ know – why เป็นสารสนเทศที่เน้นวิชาการ
2. สารสนเทศ know – how เป็นสารสนเทศที่เน้นเทคนิคมากขึ้น
3. สารสนเทศ show – how เป็นสารสนเทศที่เน้นการปฏิบัติ
4. สารสนเทศ know – who เป็นสารสนเทศที่เน้นบุคคลโยงถึงแหล่ง สารสนเทศ เช่น คน องค์กร นามานุกรม เป็นต้น
5 การจัดตามลักษณะวิธีการผลิต ได้แก่ สารสนเทศต้นแบบ (Original information) และสารสนเทศปรุงแต่ง (Consolidated information)
สารสนเทศต้นแบบ หมายถึง สารสนเทศรูปแบบดั้งเดิมที่ถูกบันทึกไว้ในเอกสารและวัสดุรูปแบบต่าง ๆ เช่น หนังสือ วารสาร รายงาน
สารสนเทศปรุงแต่ง เป็นสารสนเทศที่ผ่านการวิเคราะห์ การประเมินและการกระทำโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้ใช้ซึ่งอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันไป ลักษณะของสารสนเทศ ประเภทนี้ได้แก่ สรุปย่อ คู่มือ หรือ สถิติต่างๆ เป็นต้น
เว็บรอง http://gotoknow.org/blog/tongim/340416
เว็บหลัก http://gotoknow.org

PORNPAT 074 said...
This comment has been removed by the author.
PORNPAT 074 said...
This comment has been removed by the author.
PORNPAT 074 said...
This comment has been removed by the author.
Montean.317 said...
This comment has been removed by the author.